THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Culture

Indianiceation / History / Word Odyssey / Branded Content / Theories of Manga / Screen and Sound / Game On
ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
Video

‘ลาบเหนือ’ ความร้อนแรงแห่งรสชาติ และจิตวิญญานของคนล้านนา

  • Something Between

    ‘Radium Girls’ ภัยเรืองแสงของสาวโรงงาน

    พนักงานหญิงที่ยูเอส เรเดียม คอร์ปอเรชัน มีชื่อเรียกว่า ‘สาวเรเดียม’ คอยระบายสีเรืองแสงลงบนหน้าปัดนาฬิกาที่ตัวเลขจะต้องสว่างในความมืด โดยไม่รู้เลยว่าหน้าปัดนาฬิกาชีวิตของพวกเธอกำลังนับถอยหลังอย่างรวดเร็ว
    โดย บุญโชค พานิชศิลป์
  • Film

    ประวัติศาสตร์ที่โลกไม่ลืม: 5 ภาพยนตร์สงครามโลกครั้งที่ 2

    สงครามโลกครั้งที่ 2 กินเวลายาวนานและกลืนชีวิตผู้คนไปมากมายกว่าที่ใครจะคาดคิด ภาพยนตร์มากมายเลือกที่จะพูดถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ครั้งนี้ หาใช่เป็นการซ้ำเติม แต่เพื่อให้เราได้เรียนรู้และเข้าใจว่ามีสิ่งใดเกิดขึ้นบ้าง
    โดย สิรินารถ อินทะพันธ์
  • Stage

    Hollow: ในนรกอันกลวงเปล่าของเหล่า comfort women

    ละครเวที Hollow เล่าเรื่องของ comfort women ผู้หญิงหลายเชื้อชาติที่ถูกนำตัวไปกักขังเป็นทาสทางเพศให้กับทหารญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สองอย่างแสนเจ็บปวดรวดร้าว
    โดย ฉัตรรวี เสนธนิสศักดิ์
  • Global Affairs

    Trending This Week: เซ็กซ์ในสวน ชวนกลุ้ม

    ถามว่าเรื่องเซ็กซ์เป็นเรื่องส่วนตัวหรือสาธารณะ ถามตอนนี้ก็คงตอบยาก แต่สำหรับเรื่องราวที่เกิดขึ้นรอบสัปดาห์นี้ก็คงบอกได้แค่ว่า เรื่องเซ็กซ์เป็นเรื่องการเมืองแน่นอน ทั้งจากปฏิกิริยาที่คนมีต่อข่าวครึกโครมที่สวนลุมพินี จนถึงเรื่องกฎกระทรวงศึกษาธิการที่ออกมาครอบงำเยาวชนนักศึกษาไทย อีกเรื่องที่ดึงดูดใจให้เพลิดเพลินไม่แพ้กัน ก็คือเรื่องราวชีวิตของสองคนดังต่างวงการ คนหนึ่งคือศิลปินขวัญใจมหาชนพี่เสกโลโซ อีกคนคือไฮโซสาวงามเจ้าของแบรนด์หรู VATANIKA  
    โดย THE MOMENTUM TEAM
  • Theories of Manga

    Yugo, the Negotiator กับการจัดการวิกฤติ ท่ามกลางช่องว่างของความเป็นคน

    เรื่องของยูโกะ นักเจรจาตัวท็อป ที่สนุกกับเคสยากๆ โดยเฉพาะการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคง ศาสนาและความแตกต่างทางค่านิยม ความคิด ความเชื่อ
    โดย กฤดิกร วงศ์สว่างพานิช
  • Film

    ‘Shoplifters’ กับคำถามว่าด้วย ‘ครอบครัว’

    ภาพยนตร์ที่ต่อเนื่องมาจาก Like Father, Like Son ภาพยนตร์ก่อนหน้านี้ของโคะริเอะดะ ซึ่งพยายามตอบคำถามที่ภาพยนตร์เรื่องนั้นทิ้งเอาไว้ นั่นก็คือ ความหมายที่แท้จริงของคำว่า ‘ครอบครัว’ คืออะไร   
    โดย กิตติพงศ์ สนธิสัมพันธ์
  • Art and Design

    ความเควียร์ไม่เคยเคลียร์: ศิลปะว่าด้วย ‘เควียร์มุสลิม’ ในสามจังหวัดภาคใต้ โดยสมัคร์ กอเซ็ม

    ในฐานะนักมานุษยวิทยา สมัคร์ กอเซ็ม กำลังทำงานวิจัยเรื่องเควียร์มุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนในบทบาทของศิลปิน สมัคร์มีผลงานวิดีโอศิลปะและภาพถ่ายว่าด้วยประเด็นข้างต้น
    โดย สุธีร์ นครากรกุล
  • History

    โปรดอย่าหวังกำลังใจจากบิดาแห่งการล้ม Samuel Beckett

    จะน่าผิดหวังแค่ไหน หากคำกล่าวเรียกกำลังใจอย่าง “เคยลอง เคยล้ม ไม่เป็นไร, ลองใหม่ ล้มใหม่ ล้มได้ดีกว่า” แท้จริงไม่ได้มีความหมายเชิงบวก แต่ท้ายที่สุดมันนำเราไปสู่ความสิ้นหวัง
    โดย กิตติพล สรัคคานนท์
  • Travel

    ตามรอย David Bowie ในเบอร์ลิน: ต้นกำเนิดอัลบั้มไตรภาคในตำนาน และรักลับที่ถูกลืม

    จะบอกว่าเบอร์ลินคือเมืองที่เปลี่ยนชีวิตเดวิด โบวี่ ก็คงไม่ผิดนัก จากร็อกสตาร์ชีวิตพัง เขาได้เปลี่ยนตัวเองที่เบอร์ลิน และให้กำเนิด 3 อัลบั้มอันยอดเยี่ยม ที่ถูกขนานนามเป็น Berlin Trilogy
    โดย อภิโชค จันทรเสน
  • Book

    สิ่งที่หายในกฎหมา

    ชื่อหนังสือเหมือนจะพิมพ์ตก ยอ.ยักษ์ แต่พอได้อ่านเนื้อหาข้างในและชื่อนักเขียนทั้งห้าคน ก็อาจเห็นภาพเดียวกัน นี่ไม่ใช่ชื่อที่ถูกตัดตก หากเป็นความกวนตีนยันหน้าปก และเป็นเช่นนั้นจริงๆ   
    โดย จิรัฏฐ์​ ประเสริฐทรัพย์
  • Film

    Burning: ชนชั้น ความเหงา และเหตุผลที่คนหนุ่มสาวต้องเป็น ‘มือเพลิง’

    อีชางดง ผู้เป็นผู้กำกับคลื่นลูกใหม่ของวงการหนังเกาหลีทศวรรษ 90 ใช้ศิลปะแขนงที่เจ็ดปรับวรรณกรรมเป็นภาพเคลื่อนไหวที่แหลมคมขึ้น ยิ่งกว่านั้นคือเขาย้อนไปหารากของงานที่เชื่อมร้อยสามนักเขียนอย่างมูราคามิ, ฟอล์คเนอร์ และ ฟิตซ์เจอรัลด์ แล้วแปรเป็นภาษาหนังอย่างอัศจรรย์
    โดย ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
  • Stage

    เดี่ยว 12 : เดี่ยวเดจาวู

    อุดมเปิดเดี่ยว 12 ด้วยการแจ้งกับผู้ชมว่าเขากำลังจะแต่งงาน จากนั้นก็โยงไปถึงเรื่องพฤติกรรมของสาวๆ หลังจากนั้นก็คลับคล้ายคลับคลาว่าจะเป็นประเด็นเดิมๆ ที่เขาเคยเล่า
    โดย คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 167
  • 168
  • 169
  • 170
  • 171
  • …
  • 226
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required