THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Culture

Indianiceation / History / Word Odyssey / Branded Content / Theories of Manga / Screen and Sound / Game On
ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
Video

‘ลาบเหนือ’ ความร้อนแรงแห่งรสชาติ และจิตวิญญานของคนล้านนา

  • Word Odyssey

    แต่ในครั้งนี้ โปรดตัดสินใจ: ว่าด้วยการเลือก (ตั้ง)

    เพื่อเป็นการต้อนรับวันเลือกตั้ง สัปดาห์นี้ เราจะไปดูสำนวนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจไม่ได้ ทั้งสำนวนที่หมายถึง ลังเลเลือกไม่ถูก และสำนวนที่พูดถึงสถานการณ์เมื่อเราต้องตัดสินใจแล้ว
    โดย อธิพงษ์ อมรวงศ์ปีติ
  • Something Between

    ‘V-J Day in Times Square, New York City’ ตำนานภาพจูบในความจำ

    V-J Day in Times Square, New York City เป็นภาพจูบในตำนานโดย อัลเฟรด ไอเซนสเตดต์ ช่างภาพผู้สื่อข่าวของนิตยสารไลฟ์ ที่บันทึกภาพนี้ได้ในช่วงเวลาที่ชาวนิวยอร์กยินดีกับสงครามที่ญี่ปุ่นยอมยุติ และภาพนี้ก็เกิดขึ้นในย่านไทม์สแควร์ ของวันที่ 14 สิงหาคม 1945
    โดย บุญโชค พานิชศิลป์
  • Book

    สุขใดเล่าจะเท่างานหนังสือ แนะนำ 9 ปกออกใหม่ กำเงินให้แน่นแล้วไปเสียทรัพย์กัน!!

    ชวนเสียทรัพย์ทิ้งทวน ก่อนงานสัปดาห์หนังสือฯ จะย้ายจากศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ไปที่อิมแพค เมืองทองธานี
    โดย สิรินารถ อินทะพันธ์
  • Film

    The Upside: นิโกรมหัศจรรย์ ความพิการของชายผิวขาว และเรื่องเล่าของผู้ชาย

    เรื่องของชายผิวดำชีวิตพัง กับชายผิวขาวผู้พิการ ในThe Upside เสนอภาพของ ‘นิโกรมหัศจรรย์’ (Magical Negro) ซึ่งเป็นภาพจำของคนผิวสีในหนังฮอลลีวูดจำนวนมาก กับทั้งเล่าโดยมีผู้ชายเป็นศูนย์กลาง
    โดย นภัทร มะลิกุล
  • Museums

    พิพิธภัณฑ์สร้างชาติได้! ชวนดูกรณีศึกษาจากอังกฤษ อเมริกา และมาเลเซีย

    ทำไมจึงต้องมีพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ ทำไมรัฐบาลจึงควรเข้ามาสนับสนุน ตัวอย่างที่น่าสนใจก็คือ British Museum ที่ถ่ายทอดประวัติศาสตร์อังกฤษโดยเฉพาะบาดแผลในสมัยที่เป็นเจ้าอาณานิคม National Museum of the America Indian ที่พยายามสร้างความเข้าใจเรื่องชนพื้นเมืองอเมริกัน และ Telekom Muzium ในกัวลาลัมเปอร์ ที่นำเสนอภาพความหลากหลายทางเชื้อชาติในมาเลเซีย
    โดย Museum Minds
  • Film

    จากเจ้าแม่นาคีถึงผีกระสือ : สัตว์ประหลาดและถิ่นที่อยู่

    หากมนุษย์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของโลก ที่จะต้องอยู่ร่วมกับแม่ธรรมชาติที่มีทั้งความรักและกราดเกรี้ยว ตามข้อเสนอเรื่อง Chthlucene ของฮาราเวย์ ‘กระสือสาย’ และ ‘เจ้าแม่นาคี’ ก็สะท้อนภาพ ‘แม่’ ที่ว่านั้นได้แทบจะพอดิบพอดี
    โดย Filmsick
  • Art and Design

    A Little Rich Country ย้อนดูวาทกรรมรัฐไทยมองอีสาน ผ่านปกหนังสือยุคสงครามเย็น

    ปกหนังสือจากปี 2500-2520 ที่ศิลปินหยิบมาวาด สะท้อนการผลิตซ้ำวาทกรรมโดยรัฐ เช่นภาพความแห้งแล้งยากไร้ของภาคอีสาน ศิลปินนำมาวาดใหม่ และแสดงคู่ไปกับงานวิดีโอที่ศิลปินสร้างขึ้นมาโต้ภาพจำซ้ำซากเหล่านั้น
    โดย พิมผกาพร พรเพ็ง
  • Book

    ความยิ่งใหญ่ครึ่งศตวรรษของ ‘หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว’

    หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว ยิ่งใหญ่อย่างไร? ทำไมเมื่อมีข่าวว่า Netflix จะหยิบนวนิยายที่นับเป็นต้นแบบของ ‘สัจนิยมมหัศจรรย์’ เล่มนี้มาทำเป็นซีรีส์ ผู้คนจึงตื่นเต้นกันทั้งโลก
    โดย ดาวุธ ศาสนพิทักษ์
  • Museums

    มองวาทกรรมการเหยียดผ่าน ‘พิพิธภัณฑ์วัตถุ racist’ เราเรียนรู้อะไรจากมันได้บ้าง

    ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์คือ David Pilgrim เขาเองเป็นคนผิวดำ ที่โกรธเกรี้ยวกับกระปุกเกลือที่แปะภาพ Mammy ที่เป็นสเตอริโอไทป์ของแม่บ้านผิวดำ ตอนอายุ 12 เขาซื้อมันมาเขวี้ยงทิ้ง แต่หลังจากนั้น แต่เมื่อโตขึ้น เขาหันมาศึกษาและสะสมสิ่งเหล่านี้แทน
    โดย Museum Minds
  • The Morning After

    ประวัติศาสตร์เบคอน: เรื่องหมูๆ ที่ไม่หมู

    จากเรื่องเบคอนบนโต๊ะอาหาร ‘โตมร ศุขปรีชา’ เขียนถึงเบคอนในสำนวน วิธีการเลี้ยงหมูยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรมและหลังจากนั้น รวมถึงสายพันธุ์หมูที่ว่ากันว่าดีเหมาะจะเอามาทำเบคอน
    โดย โตมร ศุขปรีชา
  • Music

    Hozier กับการกลับมาสู้รบปรบมือกับคริสตศาสนา และสนับสนุน LGBT ในอัลบั้มใหม่ Wasteland, Baby!

    ปี 2019 นี้โฮซิเออร์กลับมาอีกครั้งกับอัลบั้ม Wasteland, Baby! ซึ่งนอกเหนือไปจากการเรียกร้องความเท่าเทียมของมนุษย์แล้ว เขายังตั้งคำถามต่อองค์กรศาสนาอย่างต่อเนื่อง
    โดย พิมพ์ชนก พุกสุข
  • Art and Design

    ชมบทสนทนาเบอร์ลิน-ราชบุรี ผ่านเครื่องปั้นเซรามิก ในนิทรรศการ Din Clay Ton Berlin-Ratchaburi Dialogue

    เพียงแค่วัสดุธรรมชาติทั่วไปอย่างดิน ก็สามารถนำมาปั้นต่อเป็นงานศิลปะเพื่อตั้งคำถามเชิงวิพากษ์หรือเชิงปรัชญาต่อใครก็ตามที่ผ่านเข้ามาชม
    โดย ณัฐชานันท์ กล้าหาญ
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 138
  • 139
  • 140
  • 141
  • 142
  • …
  • 226
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required