THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Culture

Indianiceation / History / Word Odyssey / Branded Content / Theories of Manga / Screen and Sound / Game On
ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
Video

‘ลาบเหนือ’ ความร้อนแรงแห่งรสชาติ และจิตวิญญานของคนล้านนา

  • Life

    การรีเทิร์นสู่บทบาทใหม่ที่สอนให้เข้าใจชีวิต เอก – ธเนศ วรากุลนุเคราะห์

    เขาเป็นมาหลายอย่าง ทั้งนักแสดง ดีเจ ศิลปิน นักแต่งเพลง และผู้ก่อตั้งค่ายเพลง Music Bugs แต่จู่ๆ ก็หายหน้าไปจากวงการถึง 15 ปี เพื่อหายไป 'เลี้ยงลูก' สองสามปีมานี้ เอก - ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ ก็กลับมาอีกครั้งให้คนได้เห็นเขาผ่านงานแสดงในหลากหลายบทบาท และล่าสุด เขากำลังซุ่มเขียนบทภาพยนตร์ของตัวเองด้วย
    โดย พนิชา อิ่มสมบูรณ์
  • Culture

    The Proust Questionnaire: ว่าด้วยที่มาและเสน่หาของคำถามค้นใจ

    หากใครชื่นชอบการอ่านหรือชมการสัมภาษณ์ โดยเฉพาะกับผู้คนที่มีชื่อเสียงในแวดวงต่างๆ เชื่อว่าต้องคุ้นเคยกับชุดคำถามเช่น “อะไรคือคุณสมบัติที่คุณชื่นชอบที่สุดในตัวผู้ชาย?”, “อะไรคือคุณสมบัติที่คุณชื่นชอบที่สุดในตัวผู้หญิง?”, “นักดนตรีที่คุณชื่นชอบที่สุดคือใคร?”, “จิตรกรที่คุณชื่นชอบที่สุดคือใคร?” ฯลฯ แล้วเคยสงสัยไหมว่าชุดคำถามเหล่านี้มาจากไหน? ทำไมคำถามเหล่านี้จึงแพร่หลายในการใช้สัมภาษณ์
    โดย แมท ช่างสุพรรณ
  • Music

    Nan Poésie: เขียน อ่าน และฟังบทกวีที่น่าน

    หลังจากใช้เวลาเตรียมการเพียงไม่กี่เดือน วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ร่วมกับ ชโลมใจ ชยพันธนาการ แห่งห้องสมุดบ้านๆ น่านๆ ธง Nan Poésie ก็ถูกเชิญขึ้นสู่ยอดเสา และเทศกาลบทกวีที่น่าน ครั้งที่ 1 ก็ถือกำเนิดอย่างเป็นทางการ
    โดย กิตติพงศ์ สนธิสัมพันธ์
  • Book

    บุรุษปราสาทฟ้า: ประวัติศาสตร์และปรัชญาในโลกคู่ขนาน

    บุรุษปราสาทฟ้า (The  Man in the High Castle) เป็นผลงานของฟิลิป เค. ดิก (Philip K. Dick) เหตุการณ์ในเรื่อง เกิดขึ้นในโลกอีกแบบ โลกที่ฝ่ายอักษะเป็นฝ่ายชนะในสงครามโลกครั้งที่ 2 และสหรัฐอเมริกาถูกแบ่งการปกครองออกเป็นสองฝั่ง
    โดย แมท ช่างสุพรรณ
  • Word Odyssey

    ประเพณีและการก่อกบฏ  – ศัพท์ที่เป็นแฝดผู้พลัดพราก

    ศัพท์ในภาษาอังกฤษที่เราใช้ทุกวันนี้มีจำนวนไม่น้อยที่แม้ถือกำเนิดมาจากคำเดียวกัน (เรียกว่า doublets) แต่โชคชะตานำพาให้ต้องแยกกันไปคนละทิศคนละทาง เมื่อเติบโตกันคนละที่ ความหมายจึงพัฒนากันไปคนละทิศ
    โดย อธิพงษ์ อมรวงศ์ปีติ
  • Something Between

    สถาปัตยกรรม ‘Bauhaus’ ผ่านเลนส์และชีวิตของ ลูเซีย โมโฮลี

    ลูเซีย โมโฮลีเป็นช่างภาพที่ทำงานด้วยกล้องเพลทและลักษณะการทำงานคือใช้แสงธรรมชาติล้วนๆ ไม่มีอุปกรณ์ช่วยอย่างแฟลช หรือแสงไฟ ภาพถ่ายของเธอเป็นลักษณะคอนเซปชวล ซึ่งผลงานสร้างชื่อภาพถ่ายบ้านต้นแบบของโกรพิอุส ผู้อำนวยการสถาบันเบาเฮาส์ ที่ออกมาราวกับภาพโฆษณาบ้าน
    โดย บุญโชค พานิชศิลป์
  • Book

    เศษเสี้ยวความสัมพันธ์และทรงจำอันแตกต่าง จาก 5 หนังสือรวมเรื่องสั้นนักเขียนชาย

    พกไปเที่ยววันหยุด หรือพกไว้อ่านเวลาเดินทางไปทำงาน นี่คือรายชื่อหนังสือรวมเรื่องสั้นเล่มบางๆ จากนักเขียนชาย 5 คน 5 สไตล์ ทั้งเก่าและใหม่ปะปนกัน
    โดย สิรินารถ อินทะพันธ์
  • Film

    ไทบ้านเดอะซีรีส์ 2.2 : โลกล้มเหลวของผู้ชาย โลกเงียบใบ้ของผู้หญิง

    จากไทบ้านฯ 2.1 ชีวิตของตัวละครยังคงต้องดำเนินต่อ ชีวิตลุ่มๆ ดอนๆ อันเป็นมหากาพย์ความล้มเหลวของชีวิต ‘คนหนุ่ม’ ไทบ้าน ความล้มเหลวจากการพยายามประคับประคองสิ่งที่พวกเขาได้มา
    โดย Filmsick
  • Film

    GATLANG ที่มั่นแหล่งสุดท้าย ก่อนสลายเหลือแค่ความทรงจำ

    แทบไม่พบคนต่างถิ่นในกัตลัง และจากตัวภูมิประเทศเองที่เดินทางเข้าไปยาก ก็ทำหน้าที่สกัดกั้นการเข้าถึง (และรุกล้ำ) จากคนภายนอกด้วย นั่นน่าจะเป็นเหตุผลลำดับต้นๆ ที่ทำให้หมู่บ้านกัตลังยังคงครรลองของตัวเองไว้
    โดย มโนธรรม เทียมเทียบรัตน์
  • Museums

    Object Biography: การเล่าเรื่องผ่านวัตถุของชาติพันธุ์ ในพิพิธภัณฑ์ยุคหลังอาณานิคม

    เมื่อโลกเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ เสียงของคนที่เคยถูกกดไว้ภายใต้อาณานิคม กลับมามีบทบาทในการวิพากษ์วิจารณ์เรื่องเล่า มุมมอง และการตีความวัตถุทางวัฒนธรรมของพิพิธภัณฑ์
    โดย Museum Minds
  • Film

    จาก Ameen ถึง Adam จันทร์แยก โลกแตก ญิน: ตอบโต้ภาพจำผิดๆ ต่ออิสลามด้วย ‘หนังฮาลาล’?

    Ameen (2015) และ Adam จันทร์แยก โลกแตก ญิน (2017) คือหนังจากมูลนิธิมุสลิมเพื่อสันติและสถานีโทรทัศน์ไวท์ชาแนล ที่ตระเวนฉายตามหอประชุมต่างๆ โดยวางตนเองเป็น ‘หนังฮาลาล’
    โดย ดาวุธ ศาสนพิทักษ์
  • Art and Design

    ไข่แมว งานศิลปะที่ยั่วล้อเผด็จการ ในยามที่ใครๆ ก็เซ็นเซอร์ตัวเอง

    ในประเทศที่รัฐทำให้ทุกคนลดเพดานการพูดความจริง จนถึงขั้นไม่กล้าโต้แย้งความเท็จอย่าง “ไม่ใช่เผด็จการเพราะไม่เคยยิงเป้าใคร” หรือ “ยุคนี้ไม่มีน้ำท่วม มีแต่น้ำรอระบาย” การ์ตูนไข่แมวคือสื่อที่มีความเป็นศิลปะ ซึ่งเผยแพร่ทีศนคติที่โต้แย้งเรื่องเล่าของรัฐในปัจจุบัน
    โดย ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 151
  • 152
  • 153
  • 154
  • 155
  • …
  • 226
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required