THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Culture

Indianiceation / History / Word Odyssey / Branded Content / Theories of Manga / Screen and Sound / Game On
ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

ครอบครัวจีน ความเหงาของหญิงชรา และคำถามสำคัญใน ‘หลานม่า’ ว่าเราลืมใครไปหรือเปล่า

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

‘ภารตะคณิกา’ ชีวิตของหญิงงามเมืองในอนุทวีป อาชีพที่เคยก้าวสู่พระชายาของจักรพรรดิอินเดีย

โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

‘อาหารอีสานพลัดถิ่น’ เสน่ห์ วัฒนธรรม รสชาติแห่งการดิ้นรนต่อสู้ของชาวอีสานที่แฝงอยู่ในเมืองกรุง

โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
Video

‘ลาบเหนือ’ ความร้อนแรงแห่งรสชาติ และจิตวิญญานของคนล้านนา

  • Branded Content

    เต๋อ-นวพล กับงานโฆษณาในวันที่ความจริงอาจซื้อใจคนได้มากกว่า

    ใครๆ ต่างรู้จัก เต๋อ - นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์รุ่นใหม่ผู้น่าจับตา แต่พักหลังมานี้จะเห็นว่า นอกจากผลงานภาพยนตร์ที่โดดเด่นแล้ว นวพลยังได้กระโดดเข้าสู่วงการโฆษณาอีกด้วย
    โดย THE MOMENTUM TEAM
  • Film

    A QUIET PLACE เสียงที่เธอนั้นไม่ได้ยิน

    ขณะที่พ่อแม่ให้ภาพของอนุรักษ์นิยม ฝ่ายลูกๆ ให้ภาพของคนชายขอบที่พ่อแม่ต้องปกป้อง ในภาวะของคนรุ่นพ่อแม่ vs คนรุ่นลูก นำมาสู่ฉากไคลแมกซ์ของหนังที่เป็นภาพแทนทางการเมืองที่น่าสนใจสุดขีด
    โดย Filmsick
  • Art and Design

    Diaspora นิทรรศการว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและผู้ลี้ภัยแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    นิทรรศการ Diaspora: Exit, Exile, Exodus of Southeast Asia รวบรวมผลงานของศิลปินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 18 คน ภายใต้แนวคิดของการพลัดถิ่น ในภูมิภาคที่มีกลุ่มชนไร้รัฐ ซึ่งถูกเจ้าของดินแดนขับไล่ เพราะความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา หรือจุดยืนทางสังคมการเมือง
    โดย จิรัฏฐ์​ ประเสริฐทรัพย์
  • Word Odyssey

    ดินสอลึงค์ กล้วยไม้อัณฑะ วานิลลาโยนี ศัพท์ใต้สะดือที่ซ่อนอยู่ในชีวิตประจำวัน

    หากจะมีอวัยวะที่มนุษย์หมกมุ่นด้วยไม่น้อย ก็คงหนีไม่พ้นสิ่งที่อยู่ใต้สะดือ จึงไม่แปลกที่คำหลายๆ คำมีที่มาเกี่ยวข้องกับส่วนสงวนเหล่านี้
    โดย อธิพงษ์ อมรวงศ์ปีติ
  • Something Between

    สงครามฟอล์กแลนด์: ชัยชนะของสตรีเหล็ก ‘มาร์กาเร็ต แธตเชอร์’

    เมื่อ 36 ปีที่แล้วอังกฤษต้องเปิดฉากสงครามเพื่อรักษาฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะที่มีโขดหินไม่กี่หย่อม แกะ และนกเพนกวิน ไว้เป็นอาณานิคมของตนเอง ตรงกันข้ามกับอาณานิคมชั้นดีอย่างอินเดีย และแอฟริกันโกลด์โคสต์ (ปัจจุบันคือ กานา) ที่พวกเขายอมปล่อยโดยปราศจากการสู้รบ
    โดย บุญโชค พานิชศิลป์
  • Film

    วันหนึ่งฉันเดินเข้าป่า กับ 5 ภาพยนตร์ที่ไม่ต้องรอจนล้า

    ในป่ามีอะไรให้เราค้นหา นอกจากธรรมชาติแล้ว อาจมีเสี้ยวหนึ่งของชีวิตที่หลับใหลซ่อนตัวอยู่ ดังนั้น ตอนเดินเข้าไปกับตอนเดินกลับออกมา เราจึงคล้ายเป็นคนละกัน ไม่ต่างจากหลากหลายตัวละครในภาพยนตร์ 5 เรื่องนี้
    โดย สิรินารถ อินทะพันธ์
  • Film

    จาก ‘หมาน แอนด์เดอะ คำผาน’ ถึง ‘ฉากและชีวิต’ : เปิบข้าวทุกคราวคำ จงสูจำเป็นอาจิณ

    ขณะที่ชีวิตชาวนาในภาคอีสานถูกบันทึกลงใน ‘หมาน แอนด์เดอะ คำผาน’ เสี้ยวชีวิตของชาวนาในภาคกลางได้ถูกบันทึกไว้ใน ‘ฉากและชีวิต’ ที่ออกฉายในสัปดาห์เดียวกัน โดยหนังมีน้ำเสียงที่แตกต่างและมุมมองสวนทางกันอย่างน่าสนใจ
    โดย Filmsick
  • Film

    Annihilation หนังไซไฟที่ว่าด้วยการล้างทำลายเพื่อกลายพันธุ์

    การทำลายล้างใน ‘Annihilation’ ทำให้เราได้ส่องสำรวจมิติที่ดำรงอยู่ในตัวเราเอง ทั้งในระดับจิตวิทยาและชีววิทยา รวมถึงมอบภาพของระบบนิเวศอันแสนพิศวงที่สิ่งมีชีวิต
    โดย ดาวุธ ศาสนพิทักษ์
  • Stage

    บุพกาลี God of Carnage : ลาก่อนความศิวิไลซ์

    ‘บุพกาลี’ โดย ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์ แปลงมาจาก God of Carnage ผลงานของ ยาสมินา เรซา (Yasmina Reza) นักเขียนบทละครชื่อดังชาวฝรั่งเศส เรื่องว่าด้วยการทุ่มเถียงของสองครอบครัวเริ่มจากเรื่องเล็กๆ แต่กลับบานปลายจนทลายหน้ากากความศิวิไลซ์ออกไปจากตัวละครได้อย่างแสบสัน
    โดย คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง
  • Art and Politics

    The Pictures Generation: หยิบฉวยภาพจากสื่อฯ มายำใหม่ เพื่อวิพากษ์สังคม

    ด้วยการผลิตซ้ำหรือลอกเลียนภาพยอดนิยม เดอะ พิคเจอร์ส เจเนอเรชั่นตั้งคำถามเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ และความเป็นเจ้าเข้าเจ้าของในการสร้างสรรค์ กระแสความเคลื่อนไหวนี้จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของแนวคิดหลังสมัยใหม่ (Postmodernism)
    โดย ภาณุ บุญพิพัฒนาพงศ์
  • Stage

    เพลงนี้พ่อเคยร้อง 2018: หัวเราะและร้องไห้ในหน้าตายๆ นี่แหละ

    เพลงนี้พ่อเคยร้อง 2018 [3 Days In May] เป็นงานรีสเตจครั้งที่ 4 ของผู้กำกับ เบส—วิชย อาทมาท ว่าด้วยสองพี่น้องซึ่งกลับมาพบกันปีละครั้งเพื่อไหว้พ่อผู้ล่วงลับ และในนั้น เราพบชีวิตแสนสามัญของผู้คนที่ชวนจดจำไปอีกนาน
    โดย ฉัตรรวี เสนธนิสศักดิ์
  • Word Odyssey

    แส่จริง! คนขี้เผือกเรียกว่าอะไร รับมือยังไง

    มนุษย์บางคนก็มีความอยากรู้อยากเห็นในระดับล้นเกิน นี่คือคำศัพท์ที่ใช้บรรยายลักษณะคนเหล่านั้น พร้อมกับศัพท์ที่เอาไว้ตักเตือน (หรือตอบโต้) เพื่อให้หยุดล้ำเส้นกันเสียที
    โดย อธิพงษ์ อมรวงศ์ปีติ
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 182
  • 183
  • 184
  • 185
  • 186
  • …
  • 225
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required