THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Report

Environment / Business / Branded Content / Feature / The Politician in Crime / Urban & City / On This Day / Entertainment / Global Affairs / Internal Affairs / Economics / Innovation
‘เช็กน้ำ รถไฟ ข่มขืน’ ประสบการณ์จากปาก ‘พลทหาร’ กับการล่วงละเมิดทางเพศซ้ำๆ ในกองทัพไทย

‘เช็กน้ำ รถไฟ ข่มขืน’ ประสบการณ์จากปาก ‘พลทหาร’ กับการล่วงละเมิดทางเพศซ้ำๆ ในกองทัพไทย

โดย พิพัฒน์พงษ์ ศรีวิชัย
“โลกนี้ไม่มีความยุติธรรมอยู่แล้ว” เปิดเบื้องหลังธุรกิจ ‘โค้ช’ ที่ช่วยเด็กไทย สอบเข้ามหา’ลัยระดับท็อปของโลก

“โลกนี้ไม่มีความยุติธรรมอยู่แล้ว” เปิดเบื้องหลังธุรกิจ ‘โค้ช’ ที่ช่วยเด็กไทย สอบเข้ามหา’ลัยระดับท็อปของโลก

โดย สุชิตา เทพกาญจนา (Intern)
‘ก็แค่สูญพันธุ์’ จุดจบของพะยูนไทย เมื่อโลกหยุดร้อนไม่ได้

‘ก็แค่สูญพันธุ์’ จุดจบของพะยูนไทย เมื่อโลกหยุดร้อนไม่ได้

โดย พิพัฒน์พงษ์ ศรีวิชัย
Entertainment

“ที่นำแท่งไฟออกมา เพราะมันไม่มีทางจะดับลง” เมื่อ ‘บง’ กลายเป็นสัญลักษณ์การต่อสู้ เพื่อประชาธิปไตยในหมู่คนรุ่นใหม่เกาหลีใต้

  • Cryptonian

    Cryptonian EP31: ‘Dogecoin’ เอาฮาหรือของจริง ทำไม อีลอน มัสก์ ถึงเชียร์เหรียญน้องหมาไม่เลิก

    ผู้ที่ศึกษาอย่างถ่องแท้จะรู้ได้ว่า ต้นกำเนิดของเหรียญ DOGE นั้นถูกทำขึ้นมาเพื่อเป็นเหรียญ ‘มีม’ (Meme) เพื่อล้อเลียนบิตคอยน์เท่านั้น แต่ทำไมมูลค่าของมันถึงได้พุ่งสูงถึง 15,000% จากปีก่อนหน้า และ อีลอน มัสก์ ถึงได้ประกาศผ่านทวิตเตอร์ของตัวเองว่าอาจพิจารณาให้สามารถใช้ DOGE เป็นหนึ่งวิธีในการชำระเงินซื้อ Tesla ได้กัน?
    โดย ธนภาคย์ อิทธิชัยพล
  • Feature

    เมื่อ ‘อีไอเอ’ และรายงานจากรัฐ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม-วิถีชุมชน กรณีศึกษาว่าด้วย ‘เขื่อนน้ำยวม’

    The Momentum มีโอกาสลงพื้นที่ อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อสำรวจพื้นที่ที่ประชาชน พื้นที่ที่กลุ่มชาติพันธุ์ พื้นที่ ‘ต้นโครงการ’ พื้นที่ที่จะกลายเป็น ‘อ่างเก็บน้ำ’ เหนือเขื่อนน้ำยวม เพื่อฟังความคิดเห็นจากชาวบ้านในบริเวณนั้นว่าเขาได้รับทราบข้อมูลจาก ‘รัฐ’ เจ้าของโครงการอย่างไร  และสังเกตการณ์เวที ‘รับฟังความคิดเห็น’ ระหว่างชาวบ้านในพื้นที่ และจากกรมชลประทาน 
    โดย วิศรุต วีระ​โสภณ
  • Gender

    ยุคแห่งโรคระบาดส่งผลให้ ‘คนข้ามเพศ’ ในอินเดีย ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิพื้นฐานได้

    ในยุคของโรคระบาด ดูเหมือนว่าสิทธิการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน การเข้าถึงสวัสดิการรัฐ และสิทธิในความเป็นมนุษย์ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ถูกบีบรัดและจำกัดกรอบมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่
    โดย ตรีนุช อิงคุทานนท์
  • Global Affairs

    TIME เลือก ‘อีลอน มัสก์’ เป็นบุคคลแห่งปี 2021 ผู้เปลี่ยนแปลงวิถีโลกและอวกาศ

    บุคคลแห่งปีของ TIME คือการเลือกคนที่ส่งผลกระทบต่อโลกไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง โดยไม่ได้นับเอาเรื่องดีหรือร้ายเป็นเกณฑ์ตัดสินหลัก แต่มองไปยังการกระทำที่สร้างบางสิ่ง ซึ่ง อีลอน มัสก์ ผ่านฉลุยในแง่การสร้างแรงกระเพื่อมต่อสังคม
    โดย ตรีนุช อิงคุทานนท์
  • Urban & City

    อนาคตของสถานีรถไฟกรุงเทพฯ เมื่อหัวลำโพงอาจเป็นเพียงซุ้มทางเข้าของ ‘อาณาจักรที่ขายแต่ของแพง’

    สำรวจมุมมองฝั่งเจ้าหน้าที่รัฐและเอกชนที่อยากเปลี่ยนแปลงหัวลำโพง และมุมมองของประชาชนกับเหล่านักวิชาการ ที่ตั้งคำถามต่อการเปลี่ยนแปลงหัวลำโพง
    โดย ตรีนุช อิงคุทานนท์
  • Internal Affairs

    เลือกกี่ครั้ง ชนะทุกครั้ง ‘พรรคประชาธิปัตย์’ กับการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.

    ชัยชนะในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ ของพรรคประชาธิปัตย์เริ่มต้นอย่างไร ทำไมถึงสามารถเอาชนะการเลือกตั้ง กทม. ได้มาโดยตลอด The Momentum จะพาไปย้อนความว่าทำไมพรรคนี้ถึงได้มีผู้ว่าฯ ในกรุงเทพฯ ชนิดที่ ‘นอนมา’ ได้เสมอ
    โดย THE MOMENTUM TEAM
  • Entertainment Weekly Round-Up

    Christmas Time is Here สำรวจหนังสุดซ้ำซากที่น่าจะฮิตได้ไม่ยากในช่วงคริสต์มาสปีนี้

    ธรรมเนียมการดูหนังช่วงคริสต์มาสของคนอเมริกัน สู่หนังสำหรับช่วงเทศกาลคริสต์มาสที่คอหนังสายแข็งรอดูข้ามปี
    โดย เอกศาสตร์ สรรพช่าง
  • Feature

    ‘กบฏผีบุญ’ วาทกรรมที่ถูกสร้างขึ้นใหม่โดยรัฐไทย และเมื่อเพิ่มคำว่ากบฏมาด้วย นั่นหมายความว่าสามารถฆ่าได้

    ชวน วิทยากร โสวัตร นักเขียนและเจ้าของร้านหนังสือฟิลาเดลเฟีย จังหวัดอุบลราชธานี มาเล่าย้อนประวัติศาสตร์ของ ‘ผู้มีบุญ’ ที่ภายหลังถูกด้อยค่าเป็นเพียงผีหรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต และถูกฆ่าในฐานะของกบฏ
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Cryptonian

    Cryptonian EP30: จะโอเคหรือไม่ หากบล็อกเชนคงความโปร่งใส แต่ไร้ความเป็นส่วนตัว

    หนึ่งในลักษณะเด่นของบล็อกเชนคือ ความโปร่งใสที่ทุกคนสามารถตรวจสอบการทำธุรกรรม และที่มาที่ไปของเหรียญที่ใช้โอนระหว่างกัน แต่การที่เปิดให้ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องเข้าไปจะถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น และขัดกับหลักมนุษยธรรมหรือไม่
    โดย ธนภาคย์ อิทธิชัยพล
  • The Politician in Crime

    จากเพื่อนรัก สู่ความห่างเหิน กับตำนาน 2 นายพลเผด็จการ

    ชุน ดู ฮวาน กับ โน แท-อู สุดท้ายทั้งคู่ถูกจับขึ้นศาลฐานเป็นเผด็จการ ถูกจำคุก จากเพื่อนสนิทที่รักช่วยเหลือกันมา สุดท้ายกลายเป็นคนห่างเหินจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต
    โดย I’m John
  • Report

    ‘ศิลปะสร้างเสรีภาพ เสรีภาพสร้างสรรค์ศิลปะ’ เสวนาศิลปะของราษฎร

    สรุปงานเสวนาเสวนาศิลปะของราษฎร และ‘วาระครบรอบ90ปี ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 กับ ปฏิทินป๋วยในธีม ‘The Vanguard ราษฎรก่อการ’ เพื่อสร้างความตระหนักรู้และรวบรวมเหตุการณ์สำคัญทางการเมืองของราษฎรไทยไว้ในปฏิทิน
    โดย คุณัญญาพร จิระสมรรถกิจ
  • Internal Affairs

    ANALYSIS – การเมืองของ ‘กลุ่มทุน’ ความขัดแย้งในรัฐบาลทำปม ‘จะนะ’ ร้อนแรงกว่าที่คิด

    สรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับนิคมอุตสาหกรรมจะนะ ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของโครงการที่มาจากรัฐบาลยุค คสช. ข้อพิพาทเรื่องที่ดินระหว่างบริษัทขนาดใหญ่กับชาวบ้าน ข้อกังวลเรื่องสิ่งแวดล้อม ผลประโยชน์ทับซ้อน
    โดย ตรีนุช อิงคุทานนท์
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 213
  • 214
  • 215
  • 216
  • 217
  • …
  • 625
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required