Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
ภัณฑิรา ทองเชิด
Citizen 2.0
นโยบายบนฐานความเข้าอกเข้าใจ (empathy-based policies) ในวิกฤติโควิด-19
รัฐบาลควรวางหลักคิด กลุ่มเป้าหมาย และมาตรการทั้งหมด บนฐาน 'ความเข้าอกเข้าใจ' (empathy) ในหัวอกของประชาชน ว่าวันนี้ใครกำลังเผชิญกับความท้าทายอะไรบ้าง
Internal Affairs
สั่งฟู้ดเดลิเวอรี่ นอนดูเน็ตฟลิกซ์: ความสูงส่งทางศีลธรรมที่เติบโตจากอำนาจทางเศรษฐกิจ
ในภาวะการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ใช่ว่าทุกคนจะมีกำลังสั่งฟู้ดเดลิเวอรี่ นอนดูเน็ตฟลิกซ์ที่บ้าน แต่คนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีกลับสร้างความสูงส่งทางศีลธรรมของตนเองขึ้นมาเพื่อใช้ทิ่มแทงผู้อื่นว่า ตราบใดยังสั่งฟู้ดเดลิเวอรี่ได้ มีเน็ตฟลิกซ์ให้ดู จะก่นด่าไปทำไมกัน
Word Odyssey
กินนอนวนไป!: ศัพท์พิสดารสำหรับชีวิตคนกักตัวอยู่บ้าน
พาไปดูศัพท์พิสดาร ทั้งที่หาเจอได้ยากและสาบสูญไปแล้ว แต่ใช้อธิบายพฤติกรรมและเหตุการณ์ต่างๆ ระหว่างที่เรากักตัวหรือทำงานอยู่บ้านได้เป็นอย่างดี #WordOdyssey
Economics
ทำไม ‘อัตราการเสียชีวิต’ จากโควิด-19 ในแต่ละประเทศถึงต่างกันราวฟ้ากับเหว
อัตราการเสียชีวิตจากโควิด-19 ในแต่ละประเทศ นอกจากมาตรการรับมือโรคระบาด และระบบสาธารณะสุขแล้ว ยังมีชุดข้อมูลแวดล้อมอื่นๆ ที่ทำให้ตัวเลขผู้เสียชีวิตในแต่ละประเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
Word Odyssey
ห่างกันสักพัก: การกักตัว ความโลกแคบ เบาหวาน และคาบสมุทร เกี่ยวกันอย่างไร
ชวนสืบหาต้นตระกูลและญาติพี่น้องของคำว่า isolation พร้อมไปดูว่าการกักตัวเกี่ยวข้องกับความโลกแคบ โรคเบาหวาน และคาบสมุทรอย่างไร
Citizen 2.0
มาตรการบรรเทาทุกข์ลูกหนี้ในวิกฤติโควิด-19 ที่ควรทำ
นอกจากมาตรการบรรเทาทุกข์ลูกหนี้ที่ประกาศไปก่อนหน้านี้ ธนาคารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังทำอะไรได้อีกบ้าง เพื่อช่วยลดภาระหนี้ให้กับลูกหนี้ในยามยาก 'สฤณี อาชวานันทกุล' แจกแจงข้อเสนอออกเป็น 5 ประเด็น
Global Affairs
ทุนใหญ่หรือคนส่วนใหญ่? ทางเลือกนโยบายแก้ปัญหาเศรษฐกิจหลังวิกฤตโควิด-19 ของสหรัฐฯ
นาโอมิ ไคลน์ นักข่าวอาวุโสและนักคิดผู้วิพากษ์ทุนนิยม ออกมากล่าวถึงการแก้ปัญหาในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่รัฐมักจะฉวยโอกาสร่วมมือกับทุนใหญ่เสมอ และเสนอแพ็กเกจนโยบายให้ครอบคลุมปัญหาหลายมิติมากกว่าแค่ปัญหาความยากจน ดังเช่น Green New Deal
Word Odyssey
งดแต่ไม่งด: วลีภาษาอังกฤษแนว Getsunova
พลันที่ ส.ส.ปารีณา พูดถึงการร่วมกิจกรรมงานสังคมว่า “งดก็คือทำได้อยู่” Getsunova อาจกำลังตีอกชกหัวเบาๆ ที่คิดไม่ได้ก่อน ส.ส.ท่านนี้ วลีที่มีความหมายขัดแย้งกันเรียกว่า oxymoron สัปดาห์นี้เราจะไปดู oxymoron ที่พบเจอได้บ่อยในภาษาอังกฤษกัน
Business
ประกันโควิด-19 จำเป็นไหม ซื้อตัวเดียวหรือหลายตัว และแบบไหนตอบโจทย์ที่สุด
คนแห่ซื้อประกันโควิด-19 ในช่วงนี้เป็นจำนวนมาก อยากชวนทำความเข้าใจและศึกษาเงื่อนไขกรมธรรม์ และประกันโควิด-19 แบบไหนที่เหมาะกับเรา
Economics
ทำไมนายทุนถึงแสวงหาสายสัมพันธ์ทางการเมือง
หลายเหตุผลที่นายทุนมักแสวงหาความสัมพันธ์ทางการเมือง ส่วนใหญ่แล้วมีข้อดีมากกว่าข้อเสีย และเป็นประโยชน์ต่อบริษัทของตัวเอง
Internal Affairs
โควิด-19 : ความล่มสลายของรัฐบาลไทยที่กองเชียร์คนไหนก็ไม่อาจเยียวยา
ภายใต้ดราม่าโควิด-19 เรื่องการจัดการของรัฐบาล กองเชียร์บางคนเริ่มแสดงความท้อใจ หรือวิจารณ์การทำงานของรัฐบาล ท่ามกลางข้อสังเกตว่าหรือนี่จะเป็นการส่งสัญญาณลงจากเก้าอี้นายกฯ ซึ่งมาพร้อมด้วยข่าวลือเรื่องการรัฐประหารและนายกฯ คนนอก จนชวนให้ตั้งคำถามว่า เราจะออกจากวังวนที่ไม่เป็นประชาธิปไตยนี้ได้หรือไม่
Citizen 2.0
กระบวนการยุติธรรมไทย กับภาวะ ‘นิติอธรรม’
หยิบปาฐกถา 'นิติรัฐอภิสิทธิ์และราชนิติธรรม ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาของ Rule by Law แบบไทย' ที่ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ อธิบายสังคมไทย ก่อนย้อนดูกรณีผู้พิพากษาผู้ล่วงลับ คณากร เพียรชนะ เพื่อตอบคำถามว่า กระบวนการยุติธรรมไทยสบายดีไหม
‹
Prev
1
…
13
14
15
16
17
…
51
Next
›