Report
Life
Lifestyle
People
Culture
Video
The Mo Ju
serach
search
Subscribe
Tag: พรรคประชาธิปัตย์
Internal Affairs
ปชป. แถลง ยังไม่ยืนยันร่วม/ไม่ร่วม ฝั่งไหน แต่มีมติส่งชวน หลีกภัย ชิงเก้าอี้ประธานสภาฯ
พรรคประชาธิปัตย์แถลงมติการประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคและ ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ มีมติส่งนายชวน หลีกภัย ชิงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรในวันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม โดยไม่ยืนยันว่าจะร่วมหรือไม่ร่วมรัฐบาลฝั่งไหน
Internal Affairs
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ ชนะขาด 160 เสียง ขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนใหม่
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ ชนะขาดด้วยคะแนน 160 เสียง คิดเป็น 50.59% ตามมาด้วย นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค 102 คิดเป็น 37.21% เสียง นายกรณ์ จาติกวณิช 19 เสียง คิดเป็น 8.48% และ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 10 เสียง คิดเป็น 3.69%
Internal Affairs
ทำอย่างไรให้ประชาชนไว้ใจประชาธิปัตย์ จนเลือกเป็นที่หนึ่งในสภา
15 พฤษภาคมนี้ พรรคประชาธิปัตย์จะเลือกหัวหน้าพรรคคนใหม่ สิ่งที่สำคัญกว่าการจับตาว่า ผู้นำคนใหม่จะเอาพรรคไปร่วมทีมกับพรรคพลังประชารัฐหรือไม่ ก็คือ พรรคประชาธิปัตย์มีวิสัยทัศน์ระยะยาวอย่างไร หลังจากพ่ายแพ้ต่อเนื่องมาเกือบสามทศวรรษ ซึ่งเน้นเดินเกมทำลายคู่ต่อสู้จนสำเร็จ แต่กลับไม่เคยได้ใจจากประชาชน
Internal Affairs
อายุกับการเลือกพรรค: ส่องสถิติเลือกตั้งจากทั่วประเทศ
สถิติชี้ว่าเรื่องของอายุไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกพรรคพลังประชารัฐหรืออนาคตใหม่ แต่มีข้อสังเกตว่าในการเลือกตั้งคราวนี้ พื้นที่ที่คนสูงอายุเยอะ คะแนนของพรรคเพื่อไทยจะมาก ส่วนพื้นที่ที่มีคนรุ่นใหม่เยอะ ก็มีแนวโน้มที่พรรคประชาธิปัตย์จะโกยเสียงได้มากขึ้นเช่นกัน
Internal Affairs
ประชาธิปัตย์กรีดเลือดประชาธิปไตย ความล้มเหลวที่อาจนำไปสู่การ ‘รีแบรนด์’ พรรคเก่าแก่
หลังอภิสิทธิ์ลาออก ผู้คนยังจับตาว่าแล้วพรรคประชาธิปัตย์จะเลือกร่วมงานกับซีกใด จะเป็นพรรคพลังประชารัฐ หรือพรรคร่วมอีกฝ่ายที่มีพรรคเพื่อไทยเป็นแกนนำ และแม้ตอนนี้พรรคประชาธิปัตย์จะเหมือนอยู่ในสภาวะแพแตกที่ลูกพรรคมองไม่ตรงกันอย่างรุนแรง แต่ไม่แน่ว่า นี่อาจจะเป็นวิกฤตที่นำไปสู่การรีแบรนด์พรรคก็ได้
Internal Affairs
อภิสิทธิ์กัดพรรคการเมืองคู่แข่ง ขู่ทักษิณให้คนกลัว สร้างวาทกรรมความโกรธ บีบให้คนเลือกข้าง
อภิสิทธิ์ปราศรัยกับคนกรุงฯ รับอาจพูดอะไรที่ทำให้ไม่พอใจ แต่ยืนยันต้องการพาการเมืองไทยฝ่าวงจรอุบาทว์ ย้ำอย่าตกหลุมวาทกรรมที่ต้องเลือกข้างระหว่างความโกรธรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งและความกลัวระบอบทักษิณและความไม่สงบ
Internal Affairs
พรรคการเมือง ‘Kick-Off’ ลุยสนามเลือกตั้ง หลัง คสช. ปลดล็อค
หลังคสช. ออกคำสั่งปลดล็อตการเมืองเมื่อ 11 ธันวาคม ยกเลิกประกาศ คำสั่งฯ ที่ห้ามพรรคการเมืองและประชาชนทำกิจกรรมทางการเมือง จำนวน 9 ฉบับ ก็ดูเหมือนว่าอุณหภูมิการเมืองไทยจะร้อนระอุอีกครั้ง เราเริ่มได้เห็นพรรคการเมืองที่ต่างลงพื้นที่หาเสียง ไม่เว้นแม้แต่นักการเมืองที่เพิ่ง ‘เปิดตัว’ อย่าง พล.อ.ประยุทธ์
Internal Affairs
อลงกรณ์ พลบุตร ผู้ชิงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กับมุมมองในฐานะ ‘นักปฏิรูป’
อลงกรณ์ พลบุตร รีเทิร์นกลับสู่พรรคประชาธิปัตย์อีกครั้ง บอกว่า กลับมาจากเวทีปฏิรูปรอบนี้ ชาร์จแบตมาเต็ม มีมุมมองต่อโลกที่กว้างขึ้น และจะกลับมาปฏิรูปพรรคและประเทศไปพร้อมกัน
Internal Affairs
ศึกชิงประชาธิปัตย์: ยุทธการยึดพรรคเพื่อรัฐทหาร
ในเดือนนี้เป็นบรรยากาศที่พรรคประชาธิปัตย์กำลังเลือกตั้งหัวหน้าพรรค สังเกตได้ว่า สิ่งต่างๆ ที่กำลังเกิดขึ้นกับพรรค ไม่ว่าจะเป็นการดูดนักการเมือง การตั้งพรรคใหม่ในเครือข่ายทหาร และการแทรกซึมเข้ามาเล่นเกมสาดโคลนเพื่อดิสเครดิตกันเอง ซึ่ง ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ตั้งข้อสังเกตว่า ล้วนไม่เป็นผลดีกับพรรคประชาธิปัตย์เลยแม้แต่น้อย
People
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และพรรคประชาธิปัตย์ ในวันที่ประชาธิปไตยถูกตั้งคำถาม
ในโมงยามที่คนยังไม่แน่ใจนักว่าการเลือกตั้งจะเลื่อนไปอีกกี่ครั้ง หรือจะมีเลือกตั้งแน่นอนหรือไม่ ทั้งโอกาสชนะของพลเรือนที่เล่นตามเกมก็ยังริบหรี่ The Momentum ชวนอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ทบทวน ‘ที่ทาง’ ของพรรคประชาธิปัตย์ภายใต้บรรยากาศฝุ่นตลบของการเมืองไทยช่วงที่ผ่านมา และอนาคตข้างหน้า ว่าพรรคจะเลือกทิศทางและยึดอุดมการณ์ทางการเมืองในแบบใด
Internal Affairs
4 คำถามเกี่ยวกับ ‘พรรคทหาร’
โยนหินถามทางกันมานาน และดูเหมือนจะเป็นกระแสหนาหูขึ้นเรื่อยๆ ว่าคนหลายกลุ่มมีแนวโน้มจะเกี่ยวโยงกับการตั้งพรรคทหาร กลุ่มที่มีข่าวมากที่สุดในตอนนี้ น่าจะเป็นกลุ่มที่มีชื่อนักการเมืองดังอย่าง สุเทพ เทือกสุบรรณ และ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เข้าไปเกี่ยวข้อง