THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Thought

The Momentum x Thesis Project / Soliloquy / Citizen 2.0 / From The Desk / Economic Crunch / Bangkokgag / Rule of Law / In Theories / When Philo met Sophia
  • Economic Crunch

    หรือจีนกำลังย่ำซ้ำรอยทศวรรษที่สาบสูญ

    การจัดระเบียบเศรษฐกิจครั้งใหญ่ของจีนเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับการระบาดของโควิด-19 ซึ่งรัฐบาลเลือกใช้มาตรการจำกัดการระบาดที่เคร่งครัด แม้ว่าปัจจุบัน รัฐบาลจีนจะผ่อนคลายมาตรการดังกล่าวแล้ว แต่เศรษฐกิจก็ยังฟื้นตัวได้อย่างน่าผิดหวัง จนผู้เชี่ยวชาญหลายรายมองว่า จีนอาจกำลังย่ำรอยเดิมญี่ปุ่นและตบเท้าเข้าสู่ ‘ทศวรรษที่สาบสูญ’
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    การมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็น ‘ประชาธิปไตย’ เสมอไป

    มองประชาธิปไตย ‘แบบไทยๆ’ กับสังคมไทยที่กำลังเดินทางเข้าสู่ความเป็นประชาธิปไตยอย่างที่คาดหวังหรืออาจจะกำลังถอยห่างออกจากความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้นเรื่อยๆ
    โดย ภาสกร ญี่นาง
  • When Philo met Sophia

    ปัญหาหัวใจ: the heart isn’t heart-shaped

    จูเลียน บาร์นส์ (Julian Barnes) นำพาเราไปรู้จักกับโฉมหน้าของ ‘ความรัก’ ผ่านการทำความเข้าความแตกต่างระหว่างหัวใจ (Heart) กับรูปหัวใจ
    โดย กิตติพล สรัคคานนท์
  • Economic Crunch

    ‘เอลนีโญ’ ภัยพิบัติทางเศรษฐกิจที่รัฐไทยต้องเตรียมรับมือ

    เอลนีโญปีนี้นับว่าพิเศษกว่าครั้งก่อนๆ โดยนักวิทยาศาสตร์คาดว่า ปรากฏการณ์ดังกล่าวจะส่งผลกระทบมากกว่าในอดีต เพราะมาพร้อมกับภาวะโลกร้อนที่จะส่งผลให้ปัญหาภัยแล้ง อุทกภัย ไฟป่า และโรคระบาด รุนแรงขึ้นเป็นทวีคูณ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบดังกล่าวไม่ได้ถูกปันส่วนอย่างเท่าเทียมทั่วโลก โดยประเทศที่ยากจนจะได้รับผลกระทบมากกว่า และสิ่งที่ต้องจับตาคือราคาอาหารอาจผันผวนหนัก
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    สัญญาไม่เป็นสัญญา : ทำอย่างไรดีกับ (พรรค) นักการเมืองขี้โกหก

    มองปรากฎการณ์หลังการเลือกตั้ง เมื่อสิ่งที่เคยหาเสียงไว้กลายเป็นเพียงลมปาก เราจะทำอย่างไรได้บ้างไหมในแง่ของกฎหมาย?
    โดย บงกช ดารารัตน์
  • From The Desk

    จากรัฐบาล ‘สลายขั้ว’ ถึง ครม.ต่างตอบแทน ความเสี่ยงของ ‘พรรคเพื่อไทย’ และต้นทุนที่กำลังสูญสลาย

    ความเสี่ยงของพรรคเพื่อไทยในวันที่เลือกเส้นทาง จัดตั้งรัฐบาลแบบสลายขั้ว
    โดย สุภชาติ เล็บนาค
  • Economic Crunch

    สวัสดิการจากรัฐควรเป็นแบบถ้วนหน้าหรือว่าเจาะจง?

    ฝ่ายสนับสนุนนโยบายแบบถ้วนหน้ามองว่าการประชาชนทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับสวัสดิการจากรัฐ แต่ก็ต้องเผชิญปัญหาสำคัญคือ ‘ค่าใช้จ่าย’ ที่สูงลิ่ว ส่วนฝ่ายสนับสนุนนโยบายแบบเจาะจงมองว่าวิธีการนี้ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า กระนั้น สิ่งสำคัญอยู่ในรายละเอียดการออกแบบว่ารัฐมีกระบวนการอย่างไรในการ ‘คัดกรอง’ กลุ่มเป้าหมายอย่างคนจน
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    ‘ครูกายแก้ว’ กับเสรีภาพในความเชื่อของมนุษย์

    ปรากฏการณ์ ‘ครูกายแก้ว’ กับข้อถกเถียงที่น่าสนใจ ระหว่างมุมมองว่าการเคารพสักการะรูปปั้นครูกายแก้วเป็นเรื่องผิดและไม่เหมาะสม หรือเป็นเสรีภาพในความเชื่อของผู้ศรัทธา
    โดย ภาสกร ญี่นาง
  • Economic Crunch

    ต้นทุนของการเป็นแม่ ราคาของการเป็นเมีย

    ตลอดสามทศวรรษที่ผ่านมา ความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างชายกับหญิงในไทยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบัน ช่องว่างดังกล่าวแทบไม่เหลืออยู่แล้ว กล่าวคือค่าตอบแทนของชายและหญิงในตำแหน่งงานที่ใกล้เคียงกันนั้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่หากขุดลงลึกมากกว่าประเด็นเรื่อง ‘ค่าตอบแทน’ ระหว่างชายกับหญิง เราจะพบว่าผู้หญิงยังต้องแบกรับต้นทุนในฐานะแม่ และมีราคาที่ต้องจ่ายในฐานะเมีย
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    การแอบถอดถุงยางอนามัยโดยพลการและ ‘พื้นที่สีเทา’ ในระบบกฎหมายอาญาไทย: ภาพสะท้อนความเป็นชายที่เป็นพิษ

    ชวนมองปัญหา Stealthing ในเบื้องต้น เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่นักกฎหมายและผู้อ่านว่า การกระทำดังกล่าวอาจเป็นความผิดได้ และเปิดประเด็นปัญหาเพื่อให้ผู้ที่สนใจเรื่องนี้สามารถนำไปต่อยอดเพื่อศึกษาได้
    โดย พสิษฐ์ โฆษิตชัยพิทักษ์
  • From The Desk

    หาก ม.112 ไม่ใช่ปัญหา ทำไมหลายคนจึงถูกคุมขัง ลี้ภัย กลับบ้านไม่ได้ ไปต่อไม่เป็น?

    ทำไม ม.112 จึงกลายเป็นปัญหาหลักในการจัดตั้งรัฐบาล และการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย แม้ว่าการเลือกตั้งจะผ่านมาร่วม 2 เดือนแล้วก็ตาม ขณะที่ตัวแทนประชาชนในรัฐสภายังคงเล่นละครปาหี่ผลัดกันสู้ผลัดกันถอย ฉากหน้าคือการอภิปรายในรัฐสภา ที่มีฉากหลังเป็นเลือดเนื้อ และความทุกข์ของประชาชนผู้รับผลกระทบที่ยังต้องเผชิญกับโทษภัยของญัตติกฎหมายนี้อยู่ทุกวัน
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Economic Crunch

    ‘เศรษฐกิจดี’ เพียงลำพังอาจยังไม่ครองใจประชาชน

    การศึกษาในทศวรรษหลังบ่งชี้ว่า เหล่าผู้มีสิทธิออกเสียงไม่ได้ใส่ใจเฉพาะเรื่อง ‘เศรษฐกิจดี’ แต่ยังต้องการเสถียรภาพและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตด้วยเช่นกัน ในวันที่การเมืองไทยผันผวนแปรปรวนเช่นนี้ อาจมีหลายพรรคที่พร้อมทำทุกวิถีทางเพื่อให้เป็นรัฐบาล แล้วใช้ความเชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจพลิกอนาคตประเทศให้ดูสดใสอีกครั้ง เทคนิคดังกล่าวอาจใช้การได้ดีเมื่อสองทศวรรษก่อน แต่ผลการเลือกตั้งครั้งล่าสุดก็สะท้อนได้ชัดเจนว่าการทำให้ ‘เศรษฐกิจดี’ เพียงลำพังนั้นไม่เพียงพอ
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • …
  • 75
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required