THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • COVID-19
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Video
  • Thought
serach
search

Life

Sex and Relationship / Health / Kitchenpedia / Branded Content / Money
Contact Tracing: จุดสมดุลระหว่างความเป็นส่วนตัว กับความปลอดภัยของสาธารณะอยู่ตรงไหน?

Contact Tracing: จุดสมดุลระหว่างความเป็นส่วนตัว กับความปลอดภัยของสาธารณะอยู่ตรงไหน?

โดย ชนาธิป ไชยเหล็ก
‘ตรา’ โควิด-19 ที่ถูก ‘ตี’: ผลกระทบและบทเรียนที่ต้องสรุป

‘ตรา’ โควิด-19 ที่ถูก ‘ตี’: ผลกระทบและบทเรียนที่ต้องสรุป

โดย ชนาธิป ไชยเหล็ก
นักวิจัยพัฒนาหลอดไฟ UVC ฆ่าโคโรนาไวรัส นิวยอร์กเล็งติดตั้งในรถไฟใต้ดิน-รถเมล์

นักวิจัยพัฒนาหลอดไฟ UVC ฆ่าโคโรนาไวรัส นิวยอร์กเล็งติดตั้งในรถไฟใต้ดิน-รถเมล์

โดย THE MOMENTUM TEAM
Health

Deconstruct Depression มองโรคซึมเศร้าในมุมใหม่

  • Health

    อ่าน ‘ไทม์ไลน์ผู้ป่วยโควิด-19’ อย่างไรไม่ให้ตื่นตระหนก

    ‘เปิดไทม์ไลน์’ เป็นพาดหัวข่าวที่น่าจะเห็นกันทุกคนในช่วงที่มีการระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศ หรือถ้ามีข่าวพบผู้ป่วยรายใหม่ในจังหวัดที่ตัวเองอาศัยอยู่ สิ่งมักจะทำเป็นอย่างแรกคือตามหาไทม์ไลน์ของผู้ป่วยรายนั้น เพื่อตรวจสอบว่าเราเข้าไปเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยด้วยหรือไม่ แต่เราจะเปิดอ่านไทม์ไลน์กันอย่างไรไม่ให้ตื่นตระหนก?
    โดย : ชนาธิป ไชยเหล็ก
  • Branded Content

    ‘Charge to Change’ แคมเปญเปลี่ยนโลก กับ ‘Mercedes-Benz’

    แคมเปญ ‘Charge to Change’ จาก ‘Mercedez-Benz’ เป็นแคมเปญที่หยิบยกถึงปัญหาฝุ่น PM 2.5 มลพิษทางอากาศที่ทั่วโลกต่างต้องเผชิญหน้าในช่วง 2-3 ปีนี้ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าสาเหตุหนึ่งของปัญหามาจากพฤติกรรมการใช้รถยนต์บนท้องถนน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง Mercedez-Benz จึงต้องการเรียกร้องต่อทั้งผู้ใช้รถยนต์ รวมไปถึง ภาครัฐ ภาคเอกชนในประเทศ หันมาให้ความสำคัญต่อรถยนต์ประเภทปลั๊กอิน-ไฮบริด รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น สถานี แท่นชาร์จไฟ ให้มีมากเพียงพอ จนสามารถเปลี่ยนโลกใบนี้กลับมามีอากาศอันบริสุทธิ์อีกครั้ง
    โดย : กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
  • Health

    วัคซีนโควิด-19 จาก ‘ใบยาสูบ’ ผลงานสุดเจ๋งของนักวิจัยไทย พร้อมใช้งานปลายปีหน้า

    คุยกับ ดร.วรัญญู พูลเจริญ และ ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ สองนักวิจัยแห่งคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับทิศทางการสร้าง ‘วัคซีนเพื่อคนไทย’ อาวุธต่อสู้กับโควิด-19 ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ ผ่าน ‘ใบยาสูบ’
    โดย : พาฝัน หน่อแก้ว , สุภชาติ เล็บนาค
  • History

    Here is How EP. 26 คุณกำลังทำ ‘งานที่ไร้ค่า’ อยู่หรือเปล่า

    งานแบบ Bullshit Jobs คืออะไร ทำไมถึงเกิดขึ้นมาได้ และจะทำอย่างไรให้เราไปพ้นจากงานแบบนี้ งานที่ทำให้เรารู้สึกไร้ค่าทั้งกับงานและกับตัวเอง
    โดย : THE MOMENTUM TEAM
  • Health

    ทำไมไทยถึงควบคุมโควิด-19 ได้ดี? และความท้าทายต่อ ‘ความควบคุมได้ดี’

    คำถามที่มักถูกถามขึ้นมาตลอด คือ “ทำไมประเทศไทยถึงควบคุมโควิด-19 ได้ดี” และสถานการณ์ที่บอกว่า ‘ควบคุมได้ดี’ นี้เป็น ‘ความจริง’ หรือไม่? เป็นเพียง ‘ยอดภูเขาน้ำแข็ง’ ที่ประเทศไทยตรวจได้ หรือเป็นภูเขาน้ำแข็งทั้งลูกที่ตรวจได้ครบทั้งหมด
    โดย : ชนาธิป ไชยเหล็ก
  • Branded Content

    คุยกับบ้าน ‘ตันศิริมาศ’ ที่ทำเรื่องสิ่งแวดล้อมให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน

    เวลาพูดถึงการใช้ชีวิตที่ ‘เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม’ หลายคนอาจมองว่ายุ่งยาก บางคนมองเป็นเรื่องใหญ่และไกลตัวเลยด้วยซ้ำ วันนี้ เราอยากให้ลองเปิดใจ แล้วมารู้จักกับ ‘ครอบครัวตันศิริมาศ’ ครอบครัวต้นแบบ ที่ทำให้เรื่องของการใส่ใจสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องง่ายๆอย่าง การลดใช้ภาชนะแบบครั้งเดียวทิ้ง นำวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ซ้ำใหม่ ไปจนถึงการคัดแยกขยะให้เป็นระเบียบ แล้วคุณจะพบว่าสิ่งเล็กๆน้อยเหล่านี้ไม่ว่าใครก็สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งได้ ‘เพียงแค่เริ่มลงมือทำ’
    โดย : พนิชา อิ่มสมบูรณ์
  • Branded Content

    หยุดส้มอมพิษ! ผ่านแคมเปญ ‘ผู้บริโภคที่รัก’

    รู้หรือไม่? ส้มที่เรารับประทานกันอยู่ทุกวันนี้ล้วนแต่มีสารเคมีตกค้างที่เป็นอันตรายต่อร่างกายของเรามากถึง 55 ชนิด โดยเฉลี่ยถึง 0.364 มิลลิกรัม ซึ่งเกินค่ามาตรฐานความปลอดภัย(MRL) โดยเป็นสารเคมีตกค้างเป็นชนิดดูดซึมที่ไม่สามารถล้างออกได้ถึง 28 ชนิด ซึ่งจากผลสำรวจส้มในซูเปอร์มาร์เก็ต โดยเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช หรือ ไทยแพน(Thai-PAN) พบว่าส้มที่วางขาย มีสารพิษตกค้างอยู่เป็นจำนวนมาก ถึงแม้จะมีการอ้างจากผู้จัดจำหน่ายว่ามีการตรวจสอบเป็นอย่างดีก็ตาม เหตุนี้เองทางภาคีเครือข่าย ประกอบด้วย เครือข่ายกินเปลี่ยนโลก มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค และองค์การอ็อกแฟมประเทศไทย(Oxfam) ต้องการจับมือร่วมกันระหว่างผู้ผลิต ผู้ซื้อ ผู้จัดจำหน่าย ให้ตระหนักว่าส้มมีกระบวนการผลิตที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งสารเคมีที่ตกค้างยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และได้ร่วมมือกันเปลี่ยนแปลง ผ่านกิจกรรมรณรงค์ ‘หยุดส้มอมพิษ(Orange Spike)’
    โดย : กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
  • Branded Content

    ก้าวต่อไปที่มั่นคงของ ‘ถ้วยทอง’ แบรนด์ยาหม่องสุดคลาสสิกของไทย

    ‘มิตรคู่เรือน เพื่อนคู่ตัว’ สโลแกนอันคุ้นหูจาก ยาหม่องตราถ้วยทอง ยาสามัญที่แทบจะมีติดอยู่ทุกบ้านแต่น้อยคนนักที่จะรู้จุดกำเนิดความเป็นมา ที่ผ่านการพัฒนาจนประสบความสำเร็จและเป็นที่รู้จักอย่างล้นหลาม มาร่วมย้อนรอย พร้อมแนวทางก้าวต่อไปของ ถ้วยทองโอสถ ผ่าน ‘เมธัส ลีลารัศมี’ ทายาทรุ่นที่สาม ผู้สืบทอดตำนานแบรนด์ยาหม่องสุดคลาสสิกนี้
    โดย : THE MOMENTUM TEAM
  • Sex and Relationship

    Here is How EP. 24 ทำไมคนมีประสบการณ์มากๆ ถึงยึดมั่นในสิ่งที่ผิด

    อาการที่หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน คือ Cognitive Tunnel Syndrome หรือภาวะรู้คิดแบบอุโมงค์ และความมืดบอดแบบไม่ใส่ใจในเรื่องอื่นๆ นอกจากใช้ประสบการณ์ส่วนตัวของตัวเองมาตัดสินใจ อาจทำให้เกิดหายนะได้ ตั้งแต่ระดับเล็กๆ ไปจนถึงหายนะระดับเครื่องบินตกได้
    โดย : THE MOMENTUM TEAM
  • Health

    เมื่อลูกป่วยเป็นไข้หวัดต้องไปตรวจหาเชื้อไวรัส RSV หรือไม่?

    RSV เป็นไวรัสทางเดินหายใจที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เมื่อติดเชื้อแล้วก็จะมีอาการ ‘คล้าย’ ไข้หวัดชนิดอื่น เช่น มีไข้ ไอ เจ็บคอ น้ำมูกไหล แต่รู้หรือไม่ว่าเด็กที่มีอาการไข้หวัด ‘ไม่จำเป็น’ ต้องตรวจหาเชื้อไวรัส RSV เพราะโรคนี้ยังไม่มียารักษาเฉพาะ และแพทย์จะรักษาตามอาการ แล้วอย่างนี้เราจำเป็นต้องไปตรวจอย่างที่กังวลหรือเปล่า? บทความนี้จะมาไขข้อข้องใจให้กับเหล่าคุณพ่อคุณแม่
    โดย : ชนาธิป ไชยเหล็ก
  • Health

    Here is How EP. 23 ยอมรับกันไหม ว่าสมองสูงวัยไม่แจ่มใสเท่าสมองคนหนุ่มสาว

    คำพูดที่ว่า คนแก่สมองไวสู้คนหนุ่มสาวไม่ได้นั้น เป็นเรื่องที่นักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่าจริง แม้ความ ‘ไว’ ที่ว่า จะเป็นการทำงานช้าลงเพียงเสี้ยวของเสี้ยววินาทีก็ตาม แต่หากสมองทำงานช้ากว่าขีดจำกัดหนึ่ง เชื่อหรือไม่ว่า กระทั่งการ ‘คิดเชิงตรรกะ’ ก็ยังทำไม่ได้ ติดตามเรื่องนี้ได้ใน Here’s How ตอนนี้
    โดย : THE MOMENTUM TEAM
  • Branded Content

    ทำไมเด็กพิการไทยถึงไม่ได้เรียน (ต่อ) : ร่วมหาคำตอบและทางแก้ไขไปกับ ภรณี ภู่ประเสริฐ

    ทุกวันนี้ ปัญหาการศึกษาในไทยยังมีความเหลื่อมล้ำระหว่าง ‘เด็กปกติทั่วไป’ กับ ‘เด็กพิการ’ จากการสำรวจของภาครัฐพบว่า ส่วนใหญ่เด็กพิการที่ไม่ได้รับการศึกษา รวมถึงสาเหตุที่ทำให้เรียนไม่จบระดับอุดมศึกษา มาจากปัจจัยแวดล้อมในครอบครัว ความไม่มั่นใจของต่อตนเอง โดนดูถูกจากคนในสังคม สถานะทางการเงิน รวมถึงปัจจัยภายนอกที่ไม่เอื้ออำนวยอย่างระบบขนส่งสาธารณะ แต่ทุกความมืดมิดย่อมมีหนทางสู่แสงสว่าง ‘สสส.’ พร้อมที่จะเป็นกระบอกเสียง ในการช่วยให้เด็กพิการมีอนาคตการศึกษาที่ดียิ่งขึ้น ด้วยการจัดตั้งโครงการ ‘เด็กพิการเรียนไหนดี’ สนับสนุนให้เด็กพิการมีความเท่าเทียมเท่าเด็กปกติทั่วไป มาร่วมทำความเข้าใจปัญหาของการศึกษาในเด็กพิการ ผ่านบทสัมภาษณ์จาก ‘ภรณี ภู่ประเสริฐ’ ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ สสส.
    โดย : THE MOMENTUM TEAM
  • ‹ Prev
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • …
  • 93
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
    • Global Affairs
    • Internal Affairs
    • Economics
    • Innovation
  • Thought
  • Video
  • Life
    • Lifestyle
    • Health
    • Travel
    • Kitchenpedia
  • People
  • Culture
    • Art and Design
    • Book
    • Film
    • Music
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email