Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
Economics
ดัชนีความสุขทางเศรษฐศาสตร์ ก้าวหน้าหรือว่าเมามาย?
ความสุขมวลรวมประชาชาติ หรือ GNH เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจริงหรือไม่ แล้วมีทางเลือกอื่นใดบ้างในการวัดค่าความสุขออกมาเป็นตัวเลข
Environment
แบนพลาสติก แก้ปัญหาเดิมหรือเพิ่มเติมปัญหาใหม่?
นโยบาย ‘แบน’ การใช้พลาสติกอย่างเด็ดขาดแก้ปัญหาได้หรือไม่ การเปลี่ยนมาใช้ถุงผ้าเป็นการช่วยโลกจริงไหม ซึ่งก็น่าจะเดาได้จากชื่อบทความว่าคำตอบคือ “ก็ช่วยนะ แต่…”
Economics
รู้จัก ‘สัญญาแบ่งปันรายได้’ โมเดลใหม่ให้ทุนเรียนต่อในสหรัฐฯ
ทางเลือกอย่างการกู้ยืมเงินเพื่อเรียนต่อกำลังจะล้าสมัย? ตอนนี้สถาบันการศึกษาหลายแห่งในสหรัฐฯ เริ่มใช้วิธีทำสัญญาแบ่งปันรายได้ โดยผู้รับทุนต้องจ่ายเงินคืนตามรายได้หลังเรียนจบ โดยมีการระบุชัดเจนว่าจะต้องจ่ายกี่เปอร์เซ็นต์ของรายได้-ในเวลากี่ปี
Economics
สารพัดเทคนิคตกแต่งบัญชี ที่นักอ่านงบการเงินมือใหม่ต้องรู้
ทำไมตอนที่ผลกำไรของบริษัทหนึ่งไม่สู้ดีนัก นักบัญชีกลับซ้ำเติมด้วยการดึงค่าใช้จ่ายในอนาคตมาเป็นค่าใช้จ่ายปัจจุบัน? 'รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์' พาไปรู้จักเทคนิคพื้นฐานในการตกแต่งบัญชี และข้อควรระวังสำหรับนักอ่านงบการเงินมือใหม่ที่อาจหลงไปในภาพลวงตาของตัวเลขบนหน้างบการเงิน
Economics
ค้ากำไรแบบไร้ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์สไตล์ ‘พ่อค้าคนกลางยุคใหม่’
ชวนทำความรู้จักการทำกำไรแบบไร้ความเสี่ยงจาก 2 กรณีศึกษา ที่ใช้โอกาสจากราคาที่ผันผวนตามฤดูกาลของตำราเรียน และความขี้เกียจของผู้บริโภคจนทำให้เกิดธุรกิจ ‘ขายฝากส่ง (Drop Shipping)’ อย่างเป็นล่ำเป็นสัน
Economics
ปรับค่าตั้งต้นสร้างกลไกอัตโนมัติเพื่อทาง (ไม่ได้) เลือกที่ดีกว่า
ข้อค้นพบที่สั่นสะเทือนวงการเศรษฐศาสตร์และเป็นที่ยอมรับเมื่อไม่นานมานี้คือ “มนุษย์ทั่วๆ ไปมีขอบเขตการใช้เหตุผลที่จำกัด (bounded rationality)” ประมาณว่าก็คิดนะไม่ใช่เลือกมั่วๆ แต่ถ้ามันยากมากก็ยอมแพ้ดีกว่า จึงเป็นที่มาของการศึกษาเรื่องทางเลือกตั้งต้น (Default Option) พร้อมกับผู้เชี่ยวชาญด้านใหม่ที่เรียกชื่อสุดเท่ว่าสถาปนิกทางเลือก (Choice Architect) ฮีโร่ที่จะมาช่วยให้เหล่ามนุษย์ขี้เกียจไม่ต้องทนทุกข์จากการเลือก (อย่างมักง่าย) ของตัวเอง
Bar & Restaurant
Haoma ลานเต้นรำของวัตถุดิบทำมือ
Haoma (ฮาโอมา) ร้านอาหารที่ชูแนวคิดความยั่งยืนตั้งอยู่ในกลางสุขุมวิท 31 ซึ่งผู้เขียนได้ไปทานแบบฟูลคอร์ส 13 จาน เป็นอาหารไทยสมัยใหม่สลับกับอาหารอินเดีย
Economics
อยากย้ายประเทศ !? ก็ซื้อ (สัญชาติ) ดิค้าบ
หลัง กกต.ประกาศผลคะแนนอย่างไม่เป็นทางการ เพื่อนในโซเชียลมีเดียของผู้เขียนโพสต์ภาพคำค้นฮอตฮิต “ย้ายประเทศ” ผู้เขียนไม่แน่ใจว่าบุคคลเหล่านั้นจริงจังขนาดไหน แต่หากถามนักเศรษฐศาสตร์ว่าจะย้ายประเทศต้องทำอย่างไร ผู้เขียนก็สามารถตอบให้ได้อย่างตรงไปตรงมาว่า…“ก็ซื้อดิครับ!”
Economics
ตามหาโครงสร้างภาษีในอุดมคติกับนักเศรษฐศาสตร์
จ่ายภาษีกันหรือยัง - เรื่องภาษีใกล้ตัวกว่าที่คิด ‘รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์’ พาไปสำรวจการจัดเก็บภาษี 3 รูปแบบคือ เก็บบนฐานรายได้ ฐานการบริโภค และฐานความมั่งคั่ง ก่อนย้อนกลับมามองโครงสร้างภาษีประเทศไทยว่าบรรลุอุดมคติของการจัดเก็บภาษีแล้วหรือยัง
Global Affairs
ตามรอย ‘ข่าวปลอม’ เส้นทางธุรกิจไม่สร้างสรรค์
วงจรอุบาทว์ของข่าวปลอมเกิดจากรายได้จำนวนมหาศาลที่ดึงดูดใจ ในขณะที่นักเขียนข่าวปลอมแทบไม่ต้องลงทุนอะไร ในบางประเทศ การกระทำนี้ยังไม่ผิดกฎหมาย หรือมีโอกาสน้อยมากที่จะถูกดำเนินคดี อีกทั้งผู้บริโภคเองก็ต้องการเสพข่าวดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้สอบทานข้อมูล
Money
ฟอกเงิน!? เขาทำกันอย่างไร
เงินผิดกฎหมายมักอยู่ในรูปเงินสดปริมาณมหาศาล อาจเป็นหลักร้อยล้าน-พันล้าน เพราะการโอนเงินผ่านสถาบันการเงินอาจดูผิดสังเกต และยังสามารถสืบสาวเส้นทางการเงินได้ง่าย มันจึงถูกแปรรูปเป็นนาฬิกาหรู อัญมณีมีค่า ไม่ก็ ‘ฟอกเงิน’ ก่อนการส่งมอบสู่เจ้าของที่แท้จริง
Economics
นักเศรษฐศาสตร์ในคูหา ว่าด้วยทฤษฎีเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
แอบฟังเหล่านักเศรษฐศาสตร์ว่าเขาคุยอะไรกัน ก่อนเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง และพวกเขามีวิธีอะไรในการทำนายว่าใครน่าจะชนะการเลือกตั้ง
‹
Prev
1
…
18
19
20
21
22
…
27
Next
›