Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
เพ็ญนภา บุปผาเจริญสุข
Work Tips
#ไม่งดออกเสียง ทำไมทุกเสียงจึงมีคุณค่า และส่งผลต่อการพัฒนาในที่ทำงาน
ไม่ว่าคุณจะอยู่ในบทบาทไหนของบริษัทหรือองค์กร สิ่งหนึ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในการทำงานก็คือ ‘การเข้าร่วมประชุม’ ไม่ว่าจะเป็นการประชุมในรูปแบบใดก็ตาม ทั้งการประชุมเพื่อหาข้อสรุปบางอย่างในการทำงาน การประชุมเพื่อวางแผน หรือการประชุมเพื่อระดมไอเดีย ทั้งหมดนี้ก็เพื่อขับเคลื่อนองค์กรที่คุณสังกัดให้เดินหน้าต่อ
Work Tips
เมื่อไรจะได้งาน เปลี่ยนงานดีไหม ทำไมคนรุ่นใหม่ถึงใช้การ ‘ดูดวง’ เพื่อฮีลใจ
ทำไมการดูดวงถึงเข้าถึงคนรุ่นใหม่ ทำไมการดูดวงถึงเป็นที่โดนใจของคนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเรื่อง ‘งาน’ และ ‘เงิน’ ที่อยู่เหนือเรื่องความรักหรือเรื่องสุขภาพเสียด้วยซ้ำ
Economic Crunch
เมื่อรัฐสวัสดิการไปไม่ถึงฝั่งฝัน: บทเรียนจาก ‘คลื่นสีชมพู’ ในลาตินอเมริกา
คอลัมน์ Economic Crunch สัปดาห์นี้ ขอหยิบความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการมาถอดบทเรียน โดยจะฉายภาพใหญ่ของภูมิภาคลาตินอเมริกาที่หลายประเทศผันตัวมาเป็น ‘ฝั่งซ้าย’ อย่างพร้อมเพรียงกันหรือปรากฏการณ์ที่ชื่อว่า ‘คลื่นสีชมพู’ (Pink Tide)
Work Tips
‘เคารพ กำหนดขอบเขต จับสัญญาณ’ คุยเรื่อง ‘การเมือง’ ในที่ทำงานอย่างไร ไม่ให้บานปลายจนกลายเป็นสงคราม
แม้ว่าจะเป็นเรื่องปกติที่การสนทนาทางการเมืองจะเกิดขึ้นในที่ทำงาน เนื่องจากเป็นปีแห่งการเลือกตั้ง และต้องเข้าใจว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีความคิดเห็นเป็นของตัวเอง แต่เพื่อป้องกันไม่ให้มุมมองที่แตกต่างนี้บานปลายกลายเป็นการโต้เถียงอันเผ็ดร้อน เราจะทำอย่างไรดี?
Rule of Law
เนติบริกรคืออิหยังวะ?
เนติบริกรในประวัติศาสตร์การเมืองไทยว่ามีความเป็นมาอย่างไร จนกลายมาเป็นตำแหน่งที่ทรงอิทธิพลและจำเป็นอย่างยิ่งต่อรัฐบาลทหาร ที่ทำหน้าที่ซักล้างถอดคราบเผด็จการให้เป็นรัฐบาลที่ชอบธรรม ไปจนถึงการตั้งคำถามว่าทำไมนักกฎหมายจึงกลายเป็น ‘ช่างประปา’ ไปเสียได้
Work Tips
ลาออกก็คือลาออกสิ จะถามเหตุผลทำไม (วะ) สาเหตุที่เราไม่ควรพูด ‘ทุกอย่าง’ ในวันลาจาก
เมื่อถึงวันลาจาก การบอกลามักจะเป็นช่วงเวลาที่กระอักกระอ่วนใจเสมอ จะเริ่มอย่างไรดี จะหว่านล้อมหัวหน้าแบบไหน จะชักแม่น้ำทั้งห้าอย่างไร เพื่อบอก ‘พี่ๆ’ ว่าถึงเวลาต้องไปเติบโตที่อื่น หรือเปลี่ยนเส้นทางชีวิตแล้ว
Economic Crunch
การเก็บภาษีตลาดหุ้นไม่มีทางนำไปสู่อวสานของตลาดทุน
เศรษฐศาสตร์กระแสหลักเสนอว่า ควรเก็บภาษีผลได้จากทุนในอัตรา 0% เพราะการเก็บภาษีดังกล่าวอาจบิดเบือนการจัดสรรปันส่วนของ ‘ทุน’ ในระบบเศรษฐกิจ แต่การศึกษาโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์กลับให้ผลลัพธ์ที่ตรงกันข้ามกับทฤษฎีอย่างสิ้นเชิง เพราะการเก็บภาษีผลได้จากทุนสัมพันธ์กับการเติบโตของเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ขณะที่การเก็บภาษีดังกล่าวในประเทศกำลังพัฒนาก็ไม่ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจแต่อย่างใด
Rule of Law
บิดามารดาและบุตร กับการเลือกปฏิบัติต่อ LGBTQIA+ ในระบบกฎหมายไทย
สำรวจความเป็นบิดามารดาและบุตรในระบบกฎหมายไทยที่มีอยู่และกำลังจะเกิดขึ้น ที่ยังคงเป็นอุปสรรคต่อการก่อตั้งสถาบันครอบครัวเพศหลากหลาย
Work Tips
‘อย่าเพิ่งรีบตาย ฉันเพิ่งเริ่ม’ เอาคืนอย่างไรให้มีอารยะ เมื่อต้องเผชิญ ‘การเมืองในที่ทำงาน’
ในสังคมที่ ‘สถานที่ทำงาน’ ล้วนได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก ทั้งข่าวสารบ้านเมือง การเมือง เศรษฐกิจ ยิ่งเจอปัจจัยภายในอย่างเรื่องการเมืองในที่ทำงานอีก เป็นเรื่องปกติที่ความตึงเครียดของพนักงานจะพุ่งสูงขึ้น หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ต้องรับมือกับเพื่อนร่วมงานหรือเจ้านายจอมป่วน ที่คอยแต่จะสร้างการเมืองในที่ทำงาน คุณจะมีวิธีจัดการกับสถานการณ์เหล่านี้อย่างไร?
Work Tips
งึกๆ งักๆ จังหวะแปลกเหลือเกิน ทำอย่างไรหากต้องรับมือกับคนงงๆ ในองค์กร
ขึ้นชื่อว่า ‘องค์กร’ ต้องรวบรวมคนจำนวนมากร้อยพ่อพันแม่เข้าไว้ด้วยกัน หากองค์กรนิ่ง มีความต่อเนื่อง มีการวางระบบไว้เป็นอย่างดี มีฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่แข็งแรง และมีสวัสดิการที่จูงใจ ย่อมมีโอกาสมากกว่าที่จะรวมคนระดับหัวกะทิเข้าไว้ด้วยกันได้มาก แต่หากองค์กรนั้นๆ ยังเป็นองค์กรใหม่ ไม่ได้มีแรงจูงใจให้กับพนักงานมากพอ ระบบการคัดเลือกคนไม่ได้สมบูรณ์นัก ก็มีความเสี่ยงที่จะรวมคน ‘แปลกๆ’ เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งหากแปลกแล้วมีผลงานก็ไม่เท่าไร แต่แปลกแล้วกลายเป็นตัวถ่วง ทำให้บรรยากาศในองค์กรเป็นพิษ ทำให้ภาพรวมของงานเคลื่อนยากลำบาก
Citizen 2.0
ถึงเวลาเริ่มต้นทลาย ‘ระบอบอุปถัมภ์ทุนผูกขาด’
ผลการเลือกตั้งใหญ่ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 โดยเฉพาะการที่พรรคก้าวไกลได้จำนวน ส.ส.มากเป็นอันดับหนึ่ง ชี้ชัดว่า การกระตุ้นเศรษฐกิจและแก้ปัญหาปากท้องให้กับประชาชนนั้นสำคัญก็จริง แต่คนไทยส่วนใหญ่อยากเห็น ‘การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง’ ด้วย
Economics
ความเข้าใจผิดเรื่องผลิตภาพแรงงานกับค่าแรงขั้นต่ำ
คนจำนวนไม่น้อยคาดหวังว่า การเพิ่มผลิตภาพจะทำให้ค่าแรงของเหล่าแรงงานเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ ความคิดดังกล่าวถูกต้องในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติกลับตรงกันข้าม เพราะนอกจากเศรษฐกิจที่เติบโตไม่ได้ช่วยให้ค่าแรงเพิ่มขึ้นแล้ว ขณะเดียวกันมีหลักฐานเชิงประจักษ์หลายต่อหลายชิ้นยืนยันตรงกันว่า การเพิ่มค่าแรงต่างหากที่กลายเป็นปัจจัยผลักดันผลิตภาพในระบบเศรษฐกิจ
‹
Prev
1
…
3
4
5
6
7
…
34
Next
›