Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Video
serach
search
Tag: Theories of Manga
Theories of Manga
โดราเอมอน: มังหงะสะท้อนวิธีคิดแบบมนุษยนิยม ผ่านโครงเรื่องแบบหลังมนุษยนิยม
สถานะและตัวตนของโดราเอมอนนั้นอลเวงในทางวิชาการ นี่จึงเป็นการสร้างเนื้อเรื่องที่ถามท้า ‘นิยามรากฐานของความเป็นมนุษย์’ อย่างแยบคาย กว้างขวาง และซับซ้อนยิ่งกว่างานวิชาการชิ้นใดๆ
Theories of Manga
เครยอน ชินจัง กับการถามทวน ‘มายาคติ’ ของโรล็อง บาร์ตส์
เราเห็นฉากในมังหงะแทบจะนับไม่ถ้วนที่ดูจะยืนยันคำอธิบายของบาร์ตส์เรื่อง ‘มายาคติ’ แต่เรื่องชินจังนี้เองกลับทำการถามทวนความคิดของบาร์ตส์อย่างรุนแรงที่สุด
Theories of Manga
นารูโตะ กับภาพสะท้อนโครงสร้างความมั่นคงของโลกร่วมสมัย
ไม่ว่าจะเป็น 5 หมู่บ้านมหาอำนาจ พลังยิ่งใหญ่ของสัตว์หางทั้ง 9 หรือกระทั่งกลุ่มตัวร้ายสุดแสบอย่างแสงอุษา เหล่านี้ในจักรวาลนารูโตะ สามารถนำมาเป็นตัวอย่างสรุปภาพรวมของการเมืองโลกความมั่นคงได้น่าสนใจทีเดียว
Theories of Manga
Mujaki no Rakuen กับประเด็นเรื่องความใคร่เด็ก (Pedophilia) ถึงตัวเล็กแต่ใจใหญ่?
สำหรับการตั้งประเด็นเรื่อง Pedophillia คงยากนักที่จะมีเวทีไหนที่แข็งแกร่งกว่ามังหงะ และเรื่อง Mujaku no Rakuen ที่แปลประมาณว่า ‘สวนสวรรค์ของความไร้เดียงสา’ นี้ มีประเด็นข้อถกเถียงที่ก้าวไกลมากๆ ทีเดียว
Theories of Manga
สาย Y / รักเด็ก / อมนุษย์: หมวดย่อยของมังหงะโป๊ กับจินตนาการที่ถามท้าถึงพันธนาการทางเพศ
ว่าถึงมังหงะโป๊ ในฐานะสื่อที่สะท้อนภาพของการต่อสู้กับการพยายามเซ็นเซอร์ การตีความ ‘ความโป๊’ และความหมายเรื่องการร่วมเพศในลักษณะต่างๆ รวมไปถึงท้าทายพรมแดนของสิ่งที่ถูกมองว่าเป็น ‘ข้อห้าม’ (ของสังคมโลก ผ่านการบันเลงจินตนาการที่เกินกว่ากรอบอำนาจรัฐจะบีบบังคับได้ครบถ้วน
Theories of Manga
มังหงะสายโป๊: การเซ็นเซอร์ กับการถามท้าว่าทำไมอวัยวะเพศจึงเป็นสิ่งต้องห้าม
ขณะที่การเห็นเครื่องเพศอล่างฉ่างยังผิดกฎหมายในญี่ปุ่น การมีอยู่และครีเอทสารพัดวิธีเล่าต่างๆ ของ Hentai Manga จึงเป็นการตั้งคำถามกลับไปว่า “เห็นอวัยวะเพศแล้วมันยังไงหรือ?”
Theories of Manga
Gundam: Real Robot กับการสร้างกระแสคิดแบบ Enlightenment Rationality
ความสมจริงของหุ่นยนต์และเนื้อเรื่องในกันดั้ม ทำให้หุ่นยนต์เหนือธรรมชาติที่เคยรุ่งเรืองมาก่อนแทบจะล้มครืน นับว่าเป็นต้นกำเนิดของการสร้างโลกการ์ตูนแบบ Enlightenment Rationality ก็ว่าได้
Theories of Manga
Claymore (2) : โลกาภิวัตน์จอมปลอม และรัฐร้ายในคราบองค์กรชายชุดดำ
องค์กรชุดดำคือภาพของรัฐดีๆ นี่เอง หากเทียบตามนิยามของแม็กซ์ เวเบอร์ นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน การทำงานขององค์กรก็นี้มีความละม้ายคล้ายกับรัฐใน 1984 อยู่ไม่น้อย แม้จะไม่ได้ถูกเขียนขึ้นมาในโทนที่ดำมืดขนาด 1984 ก็ตาม
Theories of Manga
Claymore อสูรสาวพิฆาตมาร (1) กับจุดยืนสตรีนิยม ในโลกชายเป็นใหญ่
เรื่องราวของเคลย์มอร์ สะท้อนถึง ความลักลั่นของสถานะทางอำนาจของเพศหญิงในวาทกรรมแบบชายเป็นใหญ่ ได้อย่างรันทดและรุนแรงอย่างยิ่ง
Theories of Manga
Dr.Stone กับวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ ของคาร์ล มาร์กซ์
ในบรรดาการ์ตูนโชเน็นยุคหลังมานี้ Dr.Stone คือเรื่องหนึ่งที่มาแรงและชวนเชียร์ให้ได้ไปต่ออีกยาวๆ ดำเนินเรื่องด้วยการปะทะกันระหว่างการค้นพบทางวิทยาศาสตร์และกำลังของมนุษย์ในทางกายภาพ
Theories of Manga
Kingdom กับแนวคิดเรื่องความเป็นอื่น และการสลายความเป็นอื่นจนเหลือ ‘รัฐ’
ผลงานของ ยาสุฮิสะ ฮาระ (Yasuhisa Hara) ว่าด้วยเรื่องชีวิตของจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่เด็กจนเติบโตและรวบรวมแผ่นดินจีน จาก 7 แว่นแคว้น ในยุค Warring States ให้กลายเป็นปึกแผ่น
Theories of Manga
Yugo, the Negotiator กับการจัดการวิกฤติ ท่ามกลางช่องว่างของความเป็นคน
เรื่องของยูโกะ นักเจรจาตัวท็อป ที่สนุกกับเคสยากๆ โดยเฉพาะการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคง ศาสนาและความแตกต่างทางค่านิยม ความคิด ความเชื่อ
1
2
Next
›