THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Thought

The Momentum x Thesis Project / Soliloquy / Citizen 2.0 / From The Desk / Economic Crunch / Bangkokgag / Rule of Law / In Theories / When Philo met Sophia
  • Rule of Law

    มหาวิทยาลัย ใครบงการ: มองประกาศชุมนุมมหาวิทยาลัยผ่านแนวคิด ‘อำนาจ’ ของมีแช็ล ฟูโกต์

    มองประกาศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เกี่ยวกับการขออนุญาตใช้พื้นที่จัดกิจกรรมการชุมนุม ผ่านแนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจและวาทกรรมของ มิแช็ล ฟูโกต์
    โดย ดรุเณศ เฌอหมื่อ
  • Economic Crunch

    ทำไมต้องเพิ่มการแข่งขันในภาคธนาคาร?

    ชวนอ่านงานวิจัยทั้งภาคทฤษฎีและเชิงประจักษ์ที่ยืนยันตรงกันว่า การเพิ่มการแข่งขันในภาคธนาคารเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคจริง พร้อมทั้งอธิบายว่า ทั้งภาคการเงินที่มีธนาคารขนาดเล็กจำนวนมาก หรือภาคการเงินที่มีธนาคารขนาดใหญ่ไม่กี่แห่ง ต่างก็เผชิญความเสี่ยงเชิงระบบที่ต้องอาศัยกลไกกำกับดูแลมาจัดการเช่นกัน
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • From The Desk

    The Empire Strikes Back เมื่อ ‘อนุรักษนิยม’ ถึงเวลาเปลี่ยนหัว

    เรื่องราวการสู้กลับของฝ่าย ‘ขวา’ ที่ยังหาหัวไม่ได้ แต่ก็ยอมให้พรรคก้าวไกลเป็นรัฐบาลไม่ได้ ว่าจะไปอย่างไรต่อ
    โดย สุภชาติ เล็บนาค
  • Economic Crunch

    เมื่อรัฐสวัสดิการไปไม่ถึงฝั่งฝัน: บทเรียนจาก ‘คลื่นสีชมพู’ ในลาตินอเมริกา

    คอลัมน์ Economic Crunch สัปดาห์นี้ ขอหยิบความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการมาถอดบทเรียน โดยจะฉายภาพใหญ่ของภูมิภาคลาตินอเมริกาที่หลายประเทศผันตัวมาเป็น ‘ฝั่งซ้าย’ อย่างพร้อมเพรียงกันหรือปรากฏการณ์ที่ชื่อว่า ‘คลื่นสีชมพู’ (Pink Tide)
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    เนติบริกรคืออิหยังวะ?

    เนติบริกรในประวัติศาสตร์การเมืองไทยว่ามีความเป็นมาอย่างไร จนกลายมาเป็นตำแหน่งที่ทรงอิทธิพลและจำเป็นอย่างยิ่งต่อรัฐบาลทหาร ที่ทำหน้าที่ซักล้างถอดคราบเผด็จการให้เป็นรัฐบาลที่ชอบธรรม ไปจนถึงการตั้งคำถามว่าทำไมนักกฎหมายจึงกลายเป็น ‘ช่างประปา’ ไปเสียได้
    โดย วัชลาวลี คำบุญเรือง
  • Economic Crunch

    การเก็บภาษีตลาดหุ้นไม่มีทางนำไปสู่อวสานของตลาดทุน

    เศรษฐศาสตร์กระแสหลักเสนอว่า ควรเก็บภาษีผลได้จากทุนในอัตรา 0% เพราะการเก็บภาษีดังกล่าวอาจบิดเบือนการจัดสรรปันส่วนของ ‘ทุน’ ในระบบเศรษฐกิจ แต่การศึกษาโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์กลับให้ผลลัพธ์ที่ตรงกันข้ามกับทฤษฎีอย่างสิ้นเชิง เพราะการเก็บภาษีผลได้จากทุนสัมพันธ์กับการเติบโตของเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ขณะที่การเก็บภาษีดังกล่าวในประเทศกำลังพัฒนาก็ไม่ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจแต่อย่างใด
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    บิดามารดาและบุตร กับการเลือกปฏิบัติต่อ LGBTQIA+ ในระบบกฎหมายไทย

    สำรวจความเป็นบิดามารดาและบุตรในระบบกฎหมายไทยที่มีอยู่และกำลังจะเกิดขึ้น ที่ยังคงเป็นอุปสรรคต่อการก่อตั้งสถาบันครอบครัวเพศหลากหลาย
    โดย พิชามญชุ์ ทรัพย์ไพบูลย์
  • Citizen 2.0

    ถึงเวลาเริ่มต้นทลาย ‘ระบอบอุปถัมภ์ทุนผูกขาด’

    ผลการเลือกตั้งใหญ่ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 โดยเฉพาะการที่พรรคก้าวไกลได้จำนวน ส.ส.มากเป็นอันดับหนึ่ง ชี้ชัดว่า การกระตุ้นเศรษฐกิจและแก้ปัญหาปากท้องให้กับประชาชนนั้นสำคัญก็จริง แต่คนไทยส่วนใหญ่อยากเห็น ‘การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง’ ด้วย
    โดย สฤณี อาชวานันทกุล
  • From The Desk

    ความท้าทายของก้าวไกล กับการอยู่บนรอยต่อระหว่างอดีต ปัจจุบัน และอนาคต

    วิเคราะห์ความยากลำบากและอุปสรรคของก้าวไกลว่าทำไมการตั้งรัฐบาลของพรรคที่ได้คะแนนเสียงอันดับหนึ่งจึงเป็นไปอย่างยากเย็นนัก
    โดย สุภชาติ เล็บนาค
  • Economic Crunch

    นักลงทุนในตลาดหุ้นไทยคิดอย่างไรกับผลการเลือกตั้ง?

    ตลาดหุ้นไทยมีบรรยากาศค่อนข้างอึมครึมมาหลายเดือน แม้ว่าเศรษฐกิจไทยจะได้รับอานิสงส์จากการเปิดประเทศของจีน ราคาพลังงานที่ปรับตัวลดลง รวมถึงอัตราเงินเฟ้อที่ไม่ได้สูงเฉกเช่นในอดีต แต่แรงเทขายจากต่างชาติก็ทำให้ตลาดหุ้นไทยผันผวนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปีจวบจวนประกาศผลการเลือกตั้ง บางคนอ่านสัญญาณดังกล่าวแล้วจึงสรุปทันทีว่า นโยบายของพรรคก้าวไกล ‘ไม่เป็นมิตร’ กับภาคธุรกิจ แต่อีกปัจจัยที่สำคัญไม่แพ้กันคือ ความไม่แน่นอนทางการเมืองในการจัดตั้งรัฐบาล
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    การยกเลิกกฎหมายเซนเซอร์ในเกาหลีใต้ สู่การปูทางเป็นมหาอำนาจทางวัฒนธรรมของโลก

    บทความนี้ทำการสำรวจ ถอดรหัสความสำเร็จ หรือเคล็ดลับอย่างหนึ่งที่ทำให้รัฐบาลเกาหลีใต้ สามารถยกระดับอุตสาหกรรมบันเทิงจนเกิดเป็น Soft Power ที่แผ่อิทธิพลครอบงำทั่วโลกมาเกือบ 20 ปี ผ่านแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการทางกฎหมาย
    โดย ภาสกร ญี่นาง
  • From The Desk

    จงเลือกตั้งด้วยความหวังเพื่อ ‘เปลี่ยน’

    ไม่ว่าเราจะเรียกการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าเป็นการแข่งขันระหว่างฝ่ายประชาธิปไตยกับฝ่ายเผด็จการ เป็นการต่อสู้ระหว่างกลุ่มเสรีนิยมกับฝ่ายอนุรักษนิยม หรือเป็นการฟาดฟันกันระหว่างรัฐบาลกับฝ่ายค้านเดิม ไม่ว่าจะเลือกข้างไหน แต่การเลือกตั้งครั้งนี้มีนัยสำคัญอยู่ที่ความเชื่อที่จะ ‘เปลี่ยน’
    โดย สุภชาติ เล็บนาค
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • …
  • 75
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required