Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
Economics
สอนจับปลาดีกว่าให้ปลา? ว่าด้วยความเข้าใจผิดเกี่ยวกับนโยบายบรรเทาความยากจน
“ถ้าท่านให้ปลาใครหนึ่งตัว เขามีกินแค่หนึ่งวัน แต่ถ้าสอนเขาจับปลา เขาจะมีกินตลอดชีวิต” สุภาษิตนี้มีการยกมาอ้างอิงอยู่บ่อยครั้ง เมื่อเราพูดถึงการแก้ปัญหาความยากจนที่ไม่ควรใช้วิธีการ ‘ให้เปล่า’ หรือการ ‘ให้ชั่วครั้งชั่วคราว’ ถ้าเช่นนั้นแล้ว ควรทำอย่างไรดี—ที่จะบรรเทาทุกข์ให้พลเมืองหลุดพ้นจาก ‘กับดักความยากจน’ อย่างยั่งยืนและได้ลืมตาอ้าปากอย่างแท้จริง
Economics
บริษัททำเพื่อสังคมแล้วได้อะไร?
ในเมื่อบริษัทต่างๆ พากันกำหนดการ ‘ทำเพื่อสังคม’ เป็นหนึ่งในนโยบายของการประกอบธุรกิจ คำถามที่ตามมาก็คือ ทำกันแบบไหน? ทำแล้วได้อะไร? ส่งผลประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อสังคมจริงหรือไม่? หรือจะเป็นแค่การทาสีฉาบภาพลักษณ์?
Economics
หุ้นบริษัทที่อยู่ในช่วงฟื้นฟูกิจการ น่าลงทุนหรือไม่?
สภาพการณ์ของเศรษฐกิจทั่วโลกและในประเทศไทยยามนี้ เป็นที่รับรู้เกินพอว่ามีแต่ดิ่งลงเรื่อยๆ หลายองค์กรธุรกิจมหาชนที่ประกาศล้มละลาย และต้องแจกจ่ายทรัพย์สินเท่าที่เหลือ คืนให้เจ้าหนี้และผู้ถือหุ้น นักลงทุนบางคนอาจมองเป็นโอกาสที่จะเสี่ยง ‘ช้อนหุ้น’ ของบรรดาธุรกิจที่อยู่ในช่วงฟื้นฟูกิจการเหล่านั้น
Book
‘SMEs หัวใจใหญ่ —ดูแลคนอย่างไรให้ธุรกิจยั่งยืน’: 10 กรณีศึกษาธุรกิจไทยแบบประยุกต์ใช้ได้จริง
‘SMEs หัวใจใหญ่ — ดูแลคนอย่างไรให้ธุรกิจยั่งยืน’ นำเสนอ10 กรณีศึกษาที่ประกอบด้วยธุรกิจหลากหลายอุตสาหกรรม จำนวนพนักงานตั้งแต่หลักสิบถึงหลักร้อย ถ่ายทอดเรื่องราวตั้งแต่บริษัทตั้งไข่ สารพัดปัญหาที่บริษัทต้องเผชิญ และโจทย์ใหญ่คือการเลี้ยงดูคนในองค์กรที่นอกจากจะต้องทำงานได้แล้วยังต้องสนใจความยั่งยืน- -เรียบเรียงประเด็นได้ชัดเจนน่าสนใจ และนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
Economics
ทำไมบริษัทถึงซื้อหุ้นคืนในช่วงวิกฤต แล้วเราควรห้ามหรือไม่?
ทำไมบริษัทถึงชอบดำเนินการในช่วงที่ตลาดหุ้นตกต่ำนี้ผู้เขียนจะพาไปรู้จัก 2 สาเหตุหลักที่ทำให้บริษัทตัดสินใจซื้อหุ้นคืน ผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท และความ ‘ไม่น่ารัก’ ของการซื้อหุ้นคืนท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจที่ไม่สดใส
Economics
คนจนและคนผิวดำกับวิบากกรรมจากโควิด-19
หลายคนบอกว่าการระบาดของโควิด-19 ได้สร้างความเท่าเทียมครั้งใหญ่ กล่าวคือโรคระบาดไม่เลือกเชื้อชาติ ศาสนา และความมั่งคง อย่างไรก็ตามหากมองผ่านแว่นตาที่ฟิลเตอร์ด้วยความเหลื่อมล้ำ ผลลัพธ์ที่ได้กลับผิดแผกแตกต่าง โดยเฉพาะคนจนและคนผิวดำที่ยังได้รับผลกระหนักที่สุดอยู่ดี
Economics
เหยียดคนส่งผลอย่างไรต่อเศรษฐกิจ
ว่าด้วยการเหยียดเกี่ยวข้องอย่างไรกับเศรษฐกิจ เมื่องานวิจัยหลายชิ้นบอกว่าบริษัทเผชิญกับการเลือกปฎิบัติตลอดวงจรพนักงาน ซึ่งสิ่งที่ตามมาคือต้นทุนมหาศาลที่บริษัทและสังคมต้องจ่ายเพียงเพราะคนบางส่วนในสังคมไม่พร้อมเปิดใจรับความแตกต่าง
Book
Good Economics for Hard Times คลี่คลายปัญหายากด้วยนโยบายเศรษฐศาสตร์
หนังสือลำดับที่สองของนักเศรษศาสตร์ อภิจิต บาเนอร์จี และเอสเธอร์ ดัฟโล ที่จะพาไปสำรวจประเด็นต่างๆ ตั้งแต่ผู้ลี้ภัย สงครามการค้า ความไม่เท่าเทียม การเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะทำลาย ‘สมมติฐานผิดๆ’ เพื่อสร้างความเข้าใจใหม่ไปพร้อมกัน
Economics
ลงทุนหุ้นกู้เขาดูกันอย่างไร
ในช่วงภาวะตลาดหุ้นขึ้นลงวูบวาบ นักลงทุนต่างก็เริ่มมองหาทางเลือกอื่นในการ ‘พักเงิน’ จนกว่าปัจจัยภายนอกอย่างโควิด-19 จะสงบลง หลายคนจึงเลือกที่จะย้ายตัวเองมายังตลาดหุ้นกู้ ซึ่งมีผลตอบแทนพอถูไถ สภาพคล่องสูง และมีความผันผวนน้อยกว่าตลาดทุน
Economics
ทำงานทางไกลทำไมถึงไม่เวิร์ก
ในช่วงการระบาดของโควิด-19 ทำให้วิถีการทำงานเปลี่ยนไป หลายคนทำงานจากที่บ้าน และประชุมผ่านวิดีโอคอล อย่างไรก็ตามมีการศึกษาพบว่าสุดท้ายแล้วการทำงานทางไกลอาจไม่ได้ประสิทธิภาพเท่ากับมานั่งทำงานเจอหน้ากันที่ออฟฟิศ
Environment
มหาสมุทรกลายเป็นกรดอย่างช้าๆ และวิกฤตที่คืบคลานมาอย่างเงียบๆ
มหาสมุทรทำหน้าที่ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ คิดเป็นสัดส่วนถึงราว 25 เปอร์เซ็นต์ ตลอด 200 ปี มนุษย์ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร่วมสี่แสนล้านตัน นำไปสู่ปรากฏการณ์มหาสมุทรเป็นกรด และจะนำไปสู่ระบบนิเวศที่อาจล่มสลายในที่สุด
Economics
รัฐวิสาหกิจยังจำเป็นอยู่หรือไม่
รัฐวิสาหกิจ เป็นองค์กรลูกผสมระหว่างภาครัฐและเอกชน บ่อยครั้งที่รัฐบาลต้องเจอกับความท้าทายในการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ ความจำเป็นที่ต้องมีอยู่ และปัญหาของรัฐวิสาหกิจคืออะไร
‹
Prev
1
…
8
9
10
11
12
…
27
Next
›