Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Tag:
Art of disappointment
Art of disappointment
ฉันผิด ฉันจึงมีอยู่: ศิลปะแห่งความผิดหวัง และการเข้าอกเข้าใจมันเสียใหม่
ท้ายที่สุดของ ‘ศิลปะของความผิดหวัง’ คือการเรียนรู้ที่จะอยู่กับ ‘ความผิดพลาด’ ซึ่งถูกกล่าวถึงและพินิจพิเคราะห์มาในหลากแง่มุม โดยนักคิดนักเขียนหลายท่านในอดีต
Art of disappointment
เรื่องของ Witkiewicz กับ Malinowski มิตรภาพล่มสลาย เพราะรัฐที่รัก
ในปี 1914 มาลินอฟสกีออกเดินทางสู่โลกตะวันออกเพื่อศึกษาชนพื้นเมืองในฐานะนักมานุษยวิทยา ส่วนวิตคีวิซร่วมเดินทางเพื่อลืมความเศร้าที่คู่หมั้นฆ่าตัวตาย เพื่อนรักดูรักกันดี จนกระทั่งสงครามโลกมาถึง
Art of disappointment
‘สารานุกรมจีนของ Borges’ แหล่งอ้างอิงเจ้าปัญหาของฟูโกต์และท่านอื่นๆ
เมื่อสารานุกรมที่มิแช็ล ฟูโกต์ ใช้อ้างอิงในหนังสือ Les mots et les chose ดูท่าจะไม่มีอยู่จริง การอ้างอิงโดยใช้สานานุกรมจีนที่บอร์เกสอุปโลกน์ขึ้นนี้ จึงถูกโจมตีอย่างดุเดือด
Art of disappointment
Stendhal ผู้เปลี่ยนความอกหักเป็นตำรา ว่าด้วยกระบวนการกำเนิดความรัก 7 สเต็ป
เขาคือคนอกหักที่เลือกจะเขียนตำราออกมาอธิบายปรากฏการณ์ของความรักอย่างจริงจัง ขณะที่ช่วงต้นศตวรรษที่ 19 นั้น วิชาจิตวิทยา จิตวิเคราะห์ หรืออะไรที่เรารู้จักในปัจจุบันยังไม่ถือกำเนิดขึ้นเลยด้วยซ้ำ
History
โปรดอย่าหวังกำลังใจจากบิดาแห่งการล้ม Samuel Beckett
จะน่าผิดหวังแค่ไหน หากคำกล่าวเรียกกำลังใจอย่าง “เคยลอง เคยล้ม ไม่เป็นไร, ลองใหม่ ล้มใหม่ ล้มได้ดีกว่า” แท้จริงไม่ได้มีความหมายเชิงบวก แต่ท้ายที่สุดมันนำเราไปสู่ความสิ้นหวัง
History
ตลกร้ายหลายตลบ ของนักเขียนเรื่องสั้นชีวิตพังที่เยี่ยมที่สุด Raymond Carver
เรื่องของนักเขียนเรื่องสั้นผู้ได้รับการยกย่องว่าสามารถพูดถึงความพังของชีวิตได้ดีที่สุด ขณะที่ชีวิตจริงเขานั้นก็กระท่อนกระแท่นนัก ทั้งกับคนรักและบรรณาธิการ
History
รักร้าวใต้ดาวร้ายของคู่ขวัญนักประพันธ์ F. Scott Fitzgerald และ Zelda Sayre
คู่ขวัญแห่งยุคแจ๊ซ เอฟ. สก็อตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ (F. Scott Fitzgerald) และเซลดา แซร์ (Zelda Sayre) กับเรื่องรักร้าวร้านระดับ Star-crossed Lovers
History
หัวใจมีไว้เพื่อแตกสลาย ว่าด้วยความรักของนักปรัชญา (Søren Kierkegaard)
รักพังครั้งเดียว โซเรน เคียร์เคกอร์ด บิดาแห่งปรัชญาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) มีผลงานมากถึง 5 ชิ้นภายในปีเดียว โดยเฉพาะ Either/Or ที่ใช้วิธีเล่าการตอบโต้กับความคิดตัวเองอย่างชวนตื่นตะลึง
History
แว่นดำ: สัญญะแห่งการปกปิด ที่เรียกร้องการเปิดเผย
นัยยะของการใส่แว่นดำนั้นมีหลากหลายและปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย และหากการใส่แว่นดำเป็นความพยายามเก็บซ่อนความรู้สึกในดวงตา โรล็อง บาร์ตส์ ก็เป็นผู้หนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่า มันอาจไม่ง่ายดายอะไรแบบนั้น
History
การปลอมตัวสุดแสบสันต์ในประวัติศาสตร์ จากราชนิกูลจนถึงคูบริค
แม้ออสการ์ ไวลด์จะบอกว่า “จงเป็นตัวเอง เพราะคนอื่นมีคนเป็นไปหมดแล้ว” แต่จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา เรื่องราวของการปลอมตัวไม่เคยหมดสิ้นไปจากสังคมมนุษย์