Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Tag:
ความเหลื่อมล้ำ
Global Affairs
ก้าวไปข้างหน้า (En Marche) หรือควรถอยมาสักก้าว ฝรั่งเศสจะทำอย่างไรต่อ เมื่อประท้วงเสื้อกั๊กเหลืองยังดุเดือด
ความรู้สึกโกรธแค้น และไม่พอใจของกลุ่ม Gilets jaunes ทำให้เห็นถึงวิกฤตของประเทศฝรั่งเศส ที่ได้ซ่อนไว้ตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมาอย่างชัดเจน
Economics
ทำความเข้าใจ ‘ความเหลื่อมล้ำ’ (แบบไม่ดราม่า)
เครดิตสวิสเผยแพร่รายงานว่า ไทยเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก จนเพจดังในเฟซบุ๊กและสภาพัฒน์ฯ ต้องออกมาแย้งว่าข้อมูลที่เครดิตสวิสใช้นั้นไม่น่าเชื่อถือ เพราะถ้าดู ‘ดัชนีจีนี’ ที่ธนาคารโลกทำตัวเลขเอาไว้ ประเทศไทยเป็นประเทศลำดับกลางๆ ไม่ได้แย่ขนาดนั้น
Economics
เธอ-เขา และค่าจ้างของเราไม่เท่ากัน
การพูดเรื่องความเท่าเทียมระหว่างเพศยังไม่ใช่เรื่องล้าสมัย เพราะอคติที่ฝังรากลึกในสังคมก็ยังคงอยู่ ผู้หญิงยังได้ค่าแรงโดยเฉลี่ยต่ำกว่าผู้ชาย รวมถึงมีสัดส่วนในตำแหน่งงานระดับผู้บริหารน้อยกว่าอีกด้วย
Internal Affairs
แผงลอย ปัญหาที่ (ไม่?) มีทางออก
เดือนสิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา คสช. ได้ยกระดับการจัดระเบียบทางเท้า เป็นผลให้มีการยกเลิกหาบเร่แผงลอยทั้งหมด แต่การหายไปของแผงลอย อาจสะท้อนให้เห็นปัญหาทางสังคมที่สาหัสกว่าการไม่มีที่ว่างไว้สำหรับเดิน
Economics
จีดีพี ดัชนีที่ไม่ได้วัดความเป็นอยู่ที่ดี
การเติบโตของจีดีพี = เศรษฐกิจดี การสรุปเช่นนั้นอาจไม่ถูกต้องนัก เพราะตัวเลขจีดีพีอาจมีที่มาจากคุณภาพชีวิตแย่ๆ และจีดีพีก็ไม่ได้แคร์เรื่องความเหลื่อมล้ำในสังคม
Economics
รวยแรนดอม : เมื่อ ‘โชค’ คือปัจจัยหลักที่ตัดสินว่าใครจะรวย
ปัจจัยใดที่ทำให้ใครคนหนึ่งรวยล้นฟ้า มีงานศึกษาที่ลองทำแบบจำลองหาคำตอบแล้วพบว่า คนที่รวยที่สุดไม่ใช่คนที่ฉลาดที่สุด แต่คือคนที่ ‘โชคดี’ ที่สุด
Economics
ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์: ดิจิทัลไม่จ้างงาน ความผิดที่รัฐบาลต้องเรียนรู้
การเข้ามาเปลี่ยนสังคมและเศรษฐกิจของโลกดิจิทัล ก็อาจเทียบได้กับเครื่องจักรไอน้ำ เครื่องยนต์สันดาปภายใน ไฟฟ้า ฯลฯ โจทย์ของรัฐไม่ได้มีแค่การอำนวยความสะดวกให้นักลงทุน แต่จะทำอย่างไร ให้การลงทุนด้านดิจิทัล การมีงานทำและสภาพการจ้างงานที่เป็นธรรม เกิดขึ้นได้ควบคู่กัน
Genderless
เลสเบี้ยนพรีเมียม: ปรากฏการณ์น่าสนใจ
มีการสำรวจพบว่า การเป็น ‘เพศอื่นๆ’ ก็อาจส่งผลต่อรายได้เหมือนกัน แถมอาจจะพลิกผันไปจากความเข้าใจของเรา
Report
ดีเบตใหญ่ด้านสุขภาพที่ทั่วโลกก็ยังไม่มีคำตอบ แล้วจะหาทางออกอย่างไร?
การคิดไม่เหมือนกันเกิดขึ้นได้เสมอ ขั้นตอนสำคัญอยู่ที่ว่า เรามีวิธีและกระบวนการหาฉันทามติอย่างไร
Economics
จ่ายเงินเพิ่มให้คนรายได้ต่ำ กับ ‘ภาษีเงินได้เชิงลบ’ ใช่ทางออกของความเหลื่อมล้ำ?
นอกจากการคำนวณภาษีแบบอัตราก้าวหน้าที่เราคุ้นเคยแล้ว ยังมีระบบที่เรียกว่า ‘ภาษีเงินได้เชิงลบ’ ที่หากใครรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ นอกจากจะไม่เสียภาษีแล้ว รัฐจะยังจ่ายคืนให้ด้วย
Internal Affairs
อนาคตรัฐสวัสดิการไทย ในเงื่อนไขการเมืองและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
ระบบป้องกันสังคมที่ดีจะช่วยลดความเสียหายจากวิกฤติเศรษฐกิจ หากไม่มีระบบป้องกันสังคม ก็อาจส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจไทยในอนาคตอยู่ในความเสี่ยงที่จะล้มละลายได้ง่าย
Economics
เราจ่ายภาษีกันไปทำไม?
บางคนอาจบอกว่า นี่มันคำถามคอมมอนเซนส์ ก็เพื่อเอาเงินไปพัฒนาประเทศยังไงล่ะ แต่บริการของรัฐหลายอย่างก็ทำซ้ำซ้อนกับเอกชน อย่างการรักษาพยาบาลหรือการศึกษา แล้วภาษีที่ว่า เราจ่ายไปเพื่ออะไรกันแน่
‹
Prev
1
2
3
4
5
Next
›