Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Video
serach
search
Tag: การประท้วง
Gender
‘สตรี ฮิญาบ เสรีภาพ’ ความตายของหญิงสาวผู้สร้างความเปลี่ยนแปลงในอิหร่าน
ผู้ชุมนุมหญิงพากันปลดฮิญาบออกจากศีรษะแล้วโยนทิ้งลงพื้น บ้างก็โยนเข้าไปยังกองไฟ ส่งเสียงตะโกนใส่เจ้าหน้าที่รัฐที่มาควบคุมความสงบเรียบร้อยว่า “ตายห่าไปได้แล้ว ไอ้พวกเผด็จการ”
Global Affairs
ทำนายอนาคตทศวรรษ 2020 จากแบบจำลองประวัติศาสตร์ที่ใช้ข้อมูลสถิติแสดงพัฒนาการระยะยาว
เดวิด เบเคอร์ ศึกษาแบบจำลองประวัติศาสตร์ที่ใช้ข้อมูลสถิติแสดงพัฒนาการระยะยาว (cliodynamics model) มาใช้วิเคราะห์และทำนายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 2020 ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนั้น ไม่สู้ดีนัก
Internal Affairs
การลงถนนประท้วงยังจำเป็นไหมในสังคมไทย คุยกับ ‘จันจิรา สมบัติพูนศิริ’
ไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่าการชุมนุมประท้วงแล้วหรือ? คำถามนี้คงอยู่ในใจใครหลายคน The Momentum สัมภาษณ์ ผศ.ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ เพื่อทำความเข้าใจการประท้วงที่ผุดขึ้นทั่วโลก รวมถึงที่ผ่านมาและที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในประเทศไทย
Global Affairs
เกิดอะไรในชิลี ทำไมผู้นำลดแลกแจกแถม ส่วนผู้ประท้วงพูดเรื่องความเหลื่อมล้ำและการแก้รัฐธรรมนูญ
แม้ชิลีจะมีเศรษฐกิจดีที่สุดในย่านละตินอเมริกา แต่นโยบายขึ้นค่ารถใต้ดินจุดชนวนให้ผู้คนนับล้านออกมาขับไล่รัฐบาล ประธานาธิบดีหัวเอียงขวาสนองตอบด้วยมาตรการลดแลกแจกแถม ตามด้วยคำประกาศโละ ครม.ยกชุด ต้องคอยดูว่า การประท้วงซึ่งเรียกร้องการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ และลบล้างรัฐธรรมนูญยุคทหาร จะยุติหรือไม่
Global Affairs
เหตุจลาจลที่ชิลี : จากการขึ้นค่ารถไฟใต้ดินสู่การชุมนุมประท้วงกลางเมือง
การประท้วงในชีลี เกิดจากกลุ่มนักเรียนประท้วงการขึ้นค่ารถไฟใต้ดินจาก 800 เปโซเป็น 830 เปโซ (จากราว 34 บาทเป็น 35 บาท) ในชั่วโมงเร่งด่วน หลังจากเมื่อเดือนมกราคมเพิ่งขึ้นไป 20 เปโซ (ราว 0.85 บาท)
Economics
รากของความเหลื่อมล้ำที่นำไปสู่การประท้วงในฮ่องกง
แม้ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจของฮ่องกงในมุมหนึ่งจะเลิศลอย แต่อีกด้านของเหรียญคือความเหลื่อมล้ำ จึงไม่แปลกใจเลยว่าทำไมพวกเขาต้องออกมาเดินบนท้องถนนเพื่อส่งเสียงให้ภาครัฐแก้ไขปัญหาที่สั่งสมมานานจากระบบทุนนิยมสุดขั้ว
Global Affairs
ประท้วงอย่างไรให้ประสบผล?
นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์และความขัดแย้งระหว่างประเทศ วิเคราะห์เหตุการณ์ประท้วง 323 เหตุการณ์ ระหว่าง ค.ศ. 1900-2006 พบว่าแนวทางไม่ใช้ความรุนแรงมีโอกาสประสบความสำเร็จมากกว่าถึง 53% ขณะที่การประท้วงที่ใช้ความรุนแรงมีโอกาสสำเร็จเพียง 26% เท่านั้น
Global Affairs
ชาวฮ่องกงในไทยชูป้ายสนับสนุนการชุมนุมในฮ่องกงที่สวนจตุจักร
วันนี้ (16 มิ.ย.) ชาวฮ่องกงในประเทศไทยได้ชุมนุมสนับสนุนการชุมนุมประท้วงในฮ่องกง บริเวณสวนจตุจักร