Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Tag:
ศิลปะ
Culture Club
หากได้บอกลา และ Painting is Home สองนิทรรศการที่เล่าเรื่อง ‘บ้าน’ บนความเหมือนที่แตกต่าง
The Momentum พาชมนิยามของคำว่า ‘บ้าน’ ผ่านสองนิทรรศการที่เล่าเรื่องบ้านบนความเหมือนที่แตกต่าง กับนิทรรศการภาพถ่าย ‘Closure: หากได้บอกลา’ และนิทรรศการศิลปะ ‘Painting is Home’ จัดแสดง ณ VS Gallery ตั้งแต่วันนี้ถึง 2 เมษายน 2566
Feature
“ศิลปะจะงอกเงยในหัวใจของเสรีชนก็ต่อเมื่อทุกคนมีเสรีภาพ” คุยกับ เพชรนิล สุขจันทร์ เจ้าของผลงาน ‘ซุกไว้ใต้หมอน’
ประเด็นร้อนในเรื่องผลงานศิลปะ ‘เสียดสีสังคม’ ของ นิ้น-เพชรนิล สุขจันทร์ นิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับผลงาน ‘ซุกไว้ใต้หมอน’ ไม่ใช่ได้รับการพูดถึงเป็นครั้งแรก ก่อนหน้านี้เธอทำงานศิลปะภาพหลังเฟรมในชื่อ ‘แด่การศึกษา ด้วยรัก และอาลัยยิ่ง’ ซึ่งหลังจากเผยแพร่ผลงานดังกล่าวก็กลายเป็นประเด็นร้อน โดยเฉพาะในเรื่องการตั้งคำถามถึงเรื่องการศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัย
Close-Up
8 ปี รัฐประหาร 8 ภาพสะท้อนเยาวรุ่นเชียงใหม่ ผู้ฝันใฝ่ต่อสู้เพื่อโลกที่ดีกว่า
The Momentum ได้พบกับคนรุ่นใหม่ที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองในเชียงใหม่ ตั้งแต่คนทำงานเบื้องหลัง ไปจนถึงแนวหน้าการต่อสู้ที่หลายคนได้รับหมายศาลเป็นค่าตอบแทน แค่เพียงเพราะอยากเห็นประเทศไทยดีกว่านี้ ก่อนจะพูดคุยเพื่อสะท้อนภาพการต่อสู้ของขบวนการเคลื่อนไหวที่จะไม่ยอมจำนน ไม่ก้มหัวศิโรราบต่ออำนาจอยุติธรรม
The Frame
กฤติยา กาวีวงศ์: “งานศิลปะเป็นภาษาสากล เราต้องใช้คุณค่านั้นเชื่อมโยงกับโลก”
สำรวจมุมมองเกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัยเพื่อก้าวต่อไปในอนาคต ผ่านสายตาของผู้อำนวยการหอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน
Video
ถ้าการเมืองดี คนทำงานสร้างสรรค์ทุกอาชีพจะมีที่ยืน
พูดคุยถึงความยากลำบากของคนดนตรีและคนทำงานสร้างสรรค์ในยุคนี้ ที่ถูกผลักให้เป็นคนชายขอบ และกำลังเฝ้ารอวันจะได้กลับมาทำงานที่รักอีกครั้ง
Art and Politics
‘รัชดี อันวาร์’ ศิลปินผู้สะท้อนความเลวร้ายของสงคราม ผ่านศิลปะแห่งการเล่าเรื่องเชิงกวี
รัชดี อันวาร์ (Rushdi Anwar) ศิลปินชาวเคิร์ดวัย 50 ปี ผู้ทำงานศิลปะผ่านการลงสำรวจพื้นที่สงครามและค่ายผู้ลี้ภัยในตะวันออกกลาง เพื่อฉายภาพให้เห็นถึงปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ความรุนแรง และวิกฤตด้านมนุษยธรรมที่เกิดขึ้นในภูมิภาคบ้านเกิดของเขา
Art and Politics
“ศิลปินที่ทิ้งพันธกิจในการปกป้องความเป็นมนุษย์และเสรีภาพ ควรไปตายซะ!” ทัศนัย เศรษฐเสรี
สนทนากับอาจารย์ศิลปะ ผู้เชื่อว่าศิลปินไม่ควรละทิ้งความเป็นมนุษย์ และพร้อมที่จะออกมาปกป้องเสรีภาพของผู้คนในสังคม
Video
พิเชษฐ กลั่นชื่น: ความกลัวคือพื้นฐานของมนุษย์ โดยเฉพาะความกลัวสูญเสียอำนาจ
การขับเคลื่อนของคนรุ่นใหม่ที่มีต่อสังคมในขณะนี้ เกิดคำถามที่ไม่เคยมีใครคิดหรือกล้าถามขึ้นมากมาย มุ่งตรงไปยังกลุ่มผู้มีอำนาจเดิมในสังคมที่เป็นผู้กุมอดีตและกุมบังเหียนอนาคตของพวกเขาไว้ในมือ ซึ่งสุดท้าย เวลาจะเป็นผู้ตัดสินว่าจะอยู่ข้างอดีตหรืออนาคตที่ลุกขึ้นมาท้าทาย
History
ศิลปะคืออะไร อย่างไรถึงเรียกศิลปะ
ย้อนอดีตไปยังประวัติศาสตร์ของโลกศิลปะ เพื่อตามหาความหมายศิลปะที่บริสุทธิ์แท้เป็นอย่างไร
Art and Politics
อารยะขัดขืนในศิลปะพม่า
นับตั้งแต่ปี 1988 จนถึงปัจจุบัน การจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกในพม่า เป็นไปอย่างเคร่งครัดภายใต้รัฐบาลทหาร ไม่เว้นแม้แต่ ‘พื้นที่ศิลปะ’ อย่างไรก็ตาม การถูกกดขี่มานานหลายทศวรรษได้เปลี่ยนแปลงทิศทางงานศิลปะและชีวิตของศิลปินไปตลอดกาล
Life
ตะวัน วัตุยา: วงการศิลปะโลก ศิลปะไทย และคนรุ่นใหม่
มุมมองของ ‘ตะวัน วัตุยา’ ศิลปินวัย 48 ที่ ‘งานชุก’ ที่สุดคนหนึ่ง กับชีวิตที่ผันผ่านบนเส้นทางศิลปิน ประสบการณ์เดินทางไปแสดงงานในต่างประเทศ บทเรียนล้ำค่าที่ได้จาก ‘เวทีใหญ่’ จนถึงทัศนะต่อวงการศิลปะไทยและคนรุ่นใหม่
Art and Design
“ไปเติมน้ำมันให้เต็มถัง แล้วใช้ให้หมด” ผลึกความคิดจากการเสพ portrait worapoj
‘พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล’ พาออกเดินทางไกลถึงจังหวัดน่าน ไปพบปะสนทนากับ ‘สุมาลี เอกชนนิยม’ จิตรกรเจ้าของผลงาน และ ‘วรพจน์ พันธุ์พงศ์’ นักเขียนผู้เป็นแรงบันดาลใจภาพวาดที่ถูกบันทึกเป็นหนังสือภาพเล่มใหม่ ‘portrait worapoj’ ผลงานผสมผสานภาพวาดของเธอ ข้อเขียนของเขา
‹
Prev
1
2
3
4
…
6
Next
›