THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Thought

The Momentum x Thesis Project / Soliloquy / Citizen 2.0 / From The Desk / Economic Crunch / Bangkokgag / Rule of Law / In Theories / When Philo met Sophia
  • Citizen 2.0

    การยึดกุมกลไกกำกับดูแล: กขค. และ กสทช. ถูกยึดกุมหรือไม่?

    การยึดกุมกลไกกำกับดูแลประเทศไทย และกรณีตัวอย่างที่สามารถอธิบายได้ชัดเจนว่า มาตรการของผู้กำกับดูแลเอื้อประโยชน์เอกชนในทางที่ส่วนรวมเสียประโยชน์ โดยที่ผู้กำกับดูแลก็ใช้ ‘ชุดคำอธิบาย’ เสมือนว่าตัวเองเป็นกลุ่มผลประโยชน์เสียเอง
    โดย สฤณี อาชวานันทกุล
  • Rule of Law

    ทำความรู้จัก CEDAW ในฐานะกลไกระหว่างประเทศเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง

    อนุสัญญาเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงในทุกรูปแบบ กลไกการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และสถานการณ์สิทธิสตรีของรัฐไทยตามมาตรฐานของ CEDAW
    โดย พิชามญชุ์ ทรัพย์ไพบูลย์
  • From The Desk

    ผีบ้าอำนาจ หลอกหลอนข้ามกาลเวลา มากเท่าไรก็ไม่เคยเพียงพอ

    จุดร่วมของเหล่าเผด็จการบ้าอำนาจจากการศึกษาทางจิตวิทยาบุคลิกภาพ ผู้ซึ่งพยายามทุกวิถีทางเพื่อครองอำนาจไว้ในมือให้นานที่สุด
    โดย ชยพล ทองสวัสดิ์
  • Economic Crunch

    การเมืองเรื่องชิป: นวัตกรรมในไต้หวันที่ทำให้เหล่ามหาอำนาจต้องเกรงใจ

    ไต้หวันคือเจ้าตลาดเซมิคอนดักเตอร์ชิปล้ำสมัย โดยครองส่วนแบ่งตลาดกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของชิปที่มีขนาดเล็กกว่า 10 นาโนเมตร ซึ่งมีเพียงคู่แข่งอีก 2 รายเท่านั้น คือ Samsung จากเกาหลีใต้และ Intel จากสหรัฐอเมริกา ชิปจึงกลายเป็นความเสี่ยงสำคัญทางเศรษฐกิจที่สหรัฐอเมริกาและจีนต้องเกรงใจไต้หวัน เพราะความขัดแย้งอาจย้อนกลับมาทำร้ายตัวเอง
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    ศิลปะและการด้อยค่า: การปฏิเสธงานสร้างสรรค์และวัฒนธรรม

    ประเด็นทางสังคมเกี่ยวกับเนื้อหาที่ปรากฏในงานสร้างสรรค์ ผ่านมุมมองเกี่ยวกับวัฒนธรรมย่อย และปัญหาทางศีลธรรมในการบังคับใช้กฎหมายที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ในการแสดงออกทางวัฒนธรรม
    โดย ภานุพงศ์ จือเหลียง
  • Citizen 2.0

    การยึดกุมกลไกกำกับดูแล: ตัวอย่างจากประวัติศาสตร์อเมริกา

    คอลัมน์ Citizen 2.0 สัปดาห์นี้ชวนอ่านกรณีจากประวัติศาสตร์ที่มีข้อมูลหลักฐานและงานวิจัยในวงวิชาการสหรัฐฯ ยืนยันแล้วว่า เข้าข่าย ‘การยึดกุมกลไกกำกับดูแล’ ทั้งคณะกรรมการการบินพลเรือน (CAB) และคณะกรรมการพาณิชย์ระหว่างมลรัฐ (ICC) สองหน่วยงานที่เป็นตัวอย่างชัดเจน เพราะผ่าน ‘เกณฑ์มาตรฐานเชิงประจักษ์’ ของอาจารย์คาร์เพนเตอร์และมอสส์ ครบทั้ง 3 ข้อ
    โดย สฤณี อาชวานันทกุล
  • Economic Crunch

    ‘เงิน’ ต้องไม่เป็นอุปสรรคในการเลือกโรงเรียน

    การเข้าโรงเรียนไม่ได้พิจารณาจากความสามารถเพียงอย่างเดียวแต่ยังอิงจากเงินในกระเป๋าของพ่อแม่ผู้ปกครองอีกด้วย เด็กที่มีพรสวรรค์อาจถูกจำกัดด้วยทรัพยากรของโรงเรียนรัฐที่อาจไม่เพียบพร้อม ขณะที่เด็กจากครอบครัวร่ำรวยที่เข้าโรงเรียนเอกชนจะได้ทั้งแรงส่งจากเพื่อนในห้อง ครูที่ศักยภาพสูงกว่า จำนวนเด็กต่อห้องที่น้อยกว่า และสารพัดกิจกรรมนอกหลักสูตร รัฐบาลในหลายประเทศดำเนินนโยบายสร้างความเสมอภาคด้านการศึกษา เช่น การแจกคูปองการศึกษา และการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามาบริหารจัดการโรงเรียนอย่างอิสระโดยที่ภาครัฐจ่ายเงินสนับสนุนและทำหน้าที่กุมบังเหียนคอยกำกับดูแล
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    บันทึกภาคสนาม: ‘คนหมู่น้อยของโครงการสาธารณประโยชน์’ โครงการผันน้ำยวม ขุดอุโมงค์ กองดิน และสายส่งไฟฟ้าแรงสูง

    การกระทำเพื่อประโยชน์สาธารณะกับผู้ที่ถูกเรียกร้องให้เสียสละภายใต้โครงการผันน้ำยวม ภาพสะท้อนของคนชายขอบอีกหลายกลุ่มที่ถูกกดทับสิทธิการพัฒนา ขาดการได้รับโอกาสที่จะเข้าถึงสิทธิต่างๆ ที่พึงมีเท่าเทียมและถูกละเลยจากรัฐ
    โดย วัชลาวลี คำบุญเรือง
  • From The Desk

    ถอดยุทธศาสตร์การเดินของ ‘ชัชชาติ’ ตัวจักรสำคัญในการ Disrupt การเมืองไทย

    From The Desk จากโต๊ะของ สุภชาติ เล็บนาค บรรณาธิการบริหาร The Momentum ร่วมกันสังเคราะห์วิธีก้าวเดินของ ‘ชัชชาติ’ ยุทธวิธี – ยุทธศาสตร์ ที่น่าเรียนรู้จาก ‘ชัชชาติ’ คืออะไร และยังมีข้อควรระวังอะไรบ้างที่ชัชชาติอาจต้องเจอข้างหน้า
    โดย สุภชาติ เล็บนาค
  • Bangkokgag

    Bangkokgag: “โตขึ้นผมอยากทำรัฐประหารครับ!”

    The Momentum x Bangkokgag : “โตขึ้นผมอยากทำรัฐประหารครับ!”
    โดย Bangkokgag
  • Citizen 2.0

    การยึดกุมกลไกกำกับดูแล: รูปแบบ ข้อถกเถียง และวิธีพิสูจน์

    รูปแบบและข้อถกเถียงของ ‘การยึดกุมกลไกกำกับดูแล’ กับวิธีพิสูจน์หรือหาเบาะแสว่าเกิดการยึดกุมกลไกกำกับดูแลขึ้นแล้วหรือยัง
    โดย สฤณี อาชวานันทกุล
  • Economic Crunch

    วิกฤตในศรีลังกาคือจุดเริ่มต้น ไม่ใช่จุดจบ

    ปัญหาของศรีลังกามีจุดเริ่มต้นจากการผิดนัดชำระหนี้ต่างประเทศเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา และนำไปสู่วิกฤตทางการเมืองในที่สุด ซึ่งหากสถานการณ์ราคาอาหารและเชื้อเพลิงยังไม่ดีขึ้น รัฐบาลในประเทศอื่นๆ ที่จัดการปัญหาได้ไม่ดีพอในสายตาประชาชนก็จะเป็นรายต่อไป
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 16
  • 17
  • 18
  • 19
  • 20
  • …
  • 75
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required