THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Thought

The Momentum x Thesis Project / Soliloquy / Citizen 2.0 / From The Desk / Economic Crunch / Bangkokgag / Rule of Law / In Theories / When Philo met Sophia
  • Economic Crunch

    ‘การแข่งขัน’ คือหัวใจของทุนนิยม: ว่าด้วยผลพวงของการควบรวมทรู-ดีแทค

    หัวใจของทุนนิยมคือการแข่งขัน หน้าที่สำคัญของรัฐบาลคือการรักษาระดับการแข่งขันในตลาดให้เหมาะสมไม่ใช่ปล่อยให้เอกชนทำอะไรก็ได้ตามต้องการ เพราะเมื่อใดก็ตามที่ตลาดไร้การแข่งขันหรือมีการแข่งขันกันน้อยราย ประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรของ ‘มือที่มองไม่เห็น’ ย่อมลดน้อยถอยลง พร้อมทั้งเปิดช่องให้เอกชนเอารัดเอาเปรียบประชาชน กวาดกำไรเกินควรเข้ากระเป๋าแบบสบายไร้กังวล เพราะไม่ต้องกลัวว่าผู้บริโภคจะหนีไปซื้อสินค้าหรือบริการที่อื่น
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    ประวัติศาสตร์กฎหมายไทยมานิเฟสโต

    ฝุ่นตลบเหนือสถาบันทางกฎหมาย เป็นทั้งวิกฤตและโอกาสของสังคมไทย ในการทบทวนอดีตของกฎหมายและส่งมอบประวัติศาสตร์กฎหมายในมิติที่ให้ความสำคัญต่อความเสมอภาค เสรีภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ
    โดย กฤษณ์พชร โสมณวัตร
  • Bangkokgag

    Bangkokgag : “ยอมจำนนนซะ เธอเปลี่ยนแปลงฉันไม่ได้หรอก”

    “ยอมจำนนนซะ เธอเปลี่ยนแปลงฉันไม่ได้หรอก”
    โดย Bangkokgag
  • From The Desk

    สำเร็จความใคร่ทางศีลธรรม: พฤติกรรมที่แสดงออกผ่านการ (คิดว่าตัวเอง) ทำดี

    From The Desk สัปดาห์นี้จากโต๊ะของ ตรีนุช อิงคุทานนท์ ที่อยากเชิญชวนผู้อ่านทุกท่านร่วมทำความรู้จักกับพฤติกรรม ‘การสำเร็จความใคร่ทางศีลธรรม’ พฤติกรรมที่สามารถพบเห็นได้ในสังคมทั่วไปทั้งในอดีตและปัจจุบัน
    โดย ตรีนุช อิงคุทานนท์
  • Bangkokgag

    Bangkokgag : “ท่าน Security Guard ครับ ผู้โดยสารถามว่าร่มชูชีพหมดแล้วหรือครับ”

    Bangkokgag : “ท่าน Security Guard ครับ ผู้โดยสารถามว่าร่มชูชีพหมดแล้วหรือครับ”
    โดย Bangkokgag
  • Citizen 2.0

    การยึดกุมกลไกกำกับดูแล: กรณี Egg Board

    คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) โครงสร้างการกำกับดูแลที่ส่อเค้าว่าอาจถูกออกแบบให้เอื้อต่อการยึดกุมตั้งแต่ต้นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งก่อตั้งปี 2549 โดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีสมัย ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี
    โดย สฤณี อาชวานันทกุล
  • Economic Crunch

    ‘รายได้โปร่งใส’ เทรนด์ใหม่เพื่อค่าจ้างที่เท่าเทียม

    สำหรับคนไทยแล้ว เรื่องเงินๆ ทองๆ เป็นเรื่องลับจนแทบจะเทียบได้กับเรื่องบนเตียง หลายคนคงแปลกใจหากทราบว่าที่ประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ ทุกคนสามารถสืบค้นข้อมูลรายได้และการจ่ายภาษีของใครก็ได้เพียงยกหูโทรศัพท์หรือคลิกเข้าเว็บไซต์ ความโปร่งใสดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อสังคมที่เท่าเทียมยิ่งขึ้น รัฐบาลหลายแห่งแม้แต่สหรัฐอเมริกาหรือสหราชอาณาจักรต่างก็เริ่มขยับตัวออกกฎหมายเพื่อใช้ ‘ความโปร่งใส’ เอาชนะการเอารัดเอาเปรียบลูกจ้างอย่างไม่เป็นธรรมของภาคเอกชน
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    ถอดบทเรียนเหตุการณ์หนองบัวลำภู วัฒนธรรมองค์กรตำรวจ ที่อาจสร้าง ‘อาชญากร’

    มองย้อนเหตุการณ์กราดยิงอย่างอุกฉกรรจ์ที่เกิดขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ผู้ก่อเหตุส่วนใหญ่มักจะเป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือทหาร ล่าสุดกับเหตุการณ์สะเทือนใจที่จังหวัดหนองบัวลำภู ทำให้เกิดคำถามว่ามีปัจจัยใดบ้างสามารถเป็นสาเหตุที่ประกอบสร้างความวิปริตในสังคมได้ถึงเพียงนี้
    โดย วัลย์นภัสร์ เจนร่วมจิต
  • Economic Crunch

    นโยบาย ‘ตรึงค่าเงิน’ แค่คิดก็ผิดแล้ว

    นโยบายตรึงค่าเงินนั้นไม่ต่างจากการสู้รบกับกลไกตลาดซึ่งมีแต่เสียกับเสีย แถมยังเป็นการย่ำซ้ำรอยเดิมของวิกฤตต้มยำกุ้งเมื่อกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา ยังไม่นับความเสี่ยงที่จะถูกตีตราว่าเป็นประเทศ ‘แทรกแซงค่าเงิน’ ซึ่งอาจถูกยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐอเมริกาเขม่นเอาได้ และกระทบความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในระยะยาว
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    บาริสต้าในเชียงใหม่: วิกฤตสิทธิแรงงานของคนทำกาแฟใน ‘เมืองหลวงกาแฟ’

    ร้านกาแฟกลายเป็นรูปแบบองค์กรธุรกิจที่เกิดการแข่งขันเข้มข้น และเติบโตมาอย่างต่อเนื่องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ จนเป็นจังหวัดที่มีธุรกิจกาแฟมากที่สุดในประเทศไทย แต่ค่าแรงของบาริสต้าเชียงใหม่ยังคงถูกแช่แข็ง
    โดย ภาสกร ญี่นาง
  • Economic Crunch

    เรียนจบปริญญาตรี = ชีวิตดีๆ ที่ลงตัว?

    การกู้เงินไปเรียนมหาวิทยาลัยเป็นการตัดสินใจที่มีความเสี่ยงสูงมากๆ เพราะนอกจากจะเป็นเงินกู้ก้อนใหญ่ตั้งแต่ยังไม่เคยทำงานหาเงินแล้ว เรายังหมดเวลาไปอย่างน้อย 4 ปี โดยแทบไม่มีโอกาสหารายได้ แต่การทุ่มทรัพยากรทั้งเงินทั้งเวลาก็ไม่ได้การันตีว่าจะประสบความสำเร็จเสมอไป
    โดย รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
  • Rule of Law

    ย้อนรอย ‘พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ’ หนึ่งในเครื่องมือของรัฐที่ถูกใช้ เพื่อขจัดความหวาดกลัวในสังคม?

    ชวนย้อนกลับไปมองช่วงชีวิตหนึ่งที่พบเห็นการใช้ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่บ่อยครั้ง อาจทำให้เราเห็นว่าแท้จริงแล้วที่รัฐพยายามร่างกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมเพื่อจัดการกับความกลัว สร้างบางสิ่งที่ทำให้การปราบปรามเป็นไปอย่างชอบธรรม สิ่งที่เกิดขึ้นอาจไม่ใช่ความพยายามของรัฐที่จะส่งเสริมสิทธิในการชุมนุมในพื้นที่สาธารณะของประชาชนซึ่งเป็นสิทธิเชิงลบ (Negative Rights) ที่รัฐไม่ควรเข้ามาแทรกแซง
    โดย ดรุเณศ เฌอหมื่อ
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 15
  • 16
  • 17
  • 18
  • 19
  • …
  • 75
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required