Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
ภาคภูมิ แสงกนกกุล
Economics
เพราะชีวิตมีความเสี่ยง คนไทยจึงมีเงินออมเยอะกว่าคนยุโรป? ว่าด้วยรัฐสวัสดิการกับการใช้เงิน
ประเทศที่ไม่ใช่รัฐสวัสดิการแบบยุโรป ประชาชนไม่ถูกเก็บภาษีสูง แต่ก็ต้องแลกมากับการจัดการความเสี่ยงเอง ทำให้แต่ละคนต้องรับผิดชอบเก็บเงินออมไว้จัดการความเสี่ยงเอง เช่น ประเทศจีนเงินออมสูงถึง 30% ส่วนเม็กซิโกราวๆ 15% สวิตเซอร์แลนด์ราวๆ 15-16% และประเทศไทยมีการออมราวๆ 30% ของรายได้
Internal Affairs
รัฐสวัสดิการอำนาจนิยม
รัฐสวัสดิการไม่ได้มาพร้อมกับประชาธิปไตยเสมอไป รัฐอำนาจนิยมอาจขยายสิทธิสวัสดิการแก่ประชาชนมหาศาล เพียงแต่การให้นี้ไม่ใช่โดยเสน่หา แต่ต้องแลกกับอะไรบางอย่าง
Internal Affairs
รัฐประหารไปทำไม? ทำความเข้าใจวงจรอุบาทว์ที่เกิดจากปัญหาความเหลื่อมล้ำ
แม้เรามักจะได้ยินนิทานที่บอกอ้อมๆ ว่า การรัฐประหารเป็นคำตอบของวิกฤตการเมืองที่ช่วยแก้ปัญหานักการเมืองโกงกิน แต่ในทางสากล การรัฐประหารทั่วโลก คือการแบ่งสรรประโยชน์กันในหมู่ชนชั้นนำและทหาร
Internal Affairs
จาก ‘ยกเลิก 30 บาทรักษาทุกโรค’ สู่ ‘ร่วมจ่าย’: ทำอย่างไรให้คนไม่ล้มละลายจากการป่วย และก็ยังแฟร์ต่อทุกฝ่าย?
การตัดสินใจว่าจะเก็บหรือไม่เก็บเงิน ‘30 บาท’ ในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ถูกชักเข้าชักออกตามแต่ว่ารัฐบาลนั้นนิยมทักษิณ ชินวัตร หรือเป็นรัฐบาลขั้วตรงข้าม ซึ่งตอนนี้ รัฐบาล คสช. ก็หวนกลับมา จะยกเลิกการเก็บ 30 บาท แล้วหันมาใช้การ ‘ร่วมจ่าย’ ตามราคารักษาแทน
Internal Affairs
สังคมสงเคราะห์ ประกันสังคม ประกันถ้วนหน้า แบบไหนก้าวหน้ากว่ากัน?
จริงไหมที่ระบบ ‘สังคมสงเคราะห์’ ไม่ดีเท่า สิทธิสวัสดิการแบบ ‘ถ้วนหน้า’? แล้วสิทธิแบบถ้วนหน้าช่วยลดความเหลื่อมล้ำได้จริงหรือ? คำถามเหล่านี้ไม่มีคำตอบตายตัว เพราะการออกแบบระบบสวัสดิการในหลากหลายประเทศก็มักแตกต่างกันไป มาย้อนดูเส้นทางการก่อเกิดกว่าจะเป็นแนวคิดแบบต่างๆ
Internal Affairs
รู้จักระบบประกันสุขภาพ แม้ไม่ป่วยไข้ แต่ต้องจ่ายทุกเดือน เพื่อ ‘เฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข’
เรื่องสุขภาพไม่ใช่เรื่องตัวคนเดียว แต่ถ้าป่วยแล้วก็จะกระทบทั้งสังคม นั่นจึงทำให้หลายๆ ประเทศต้องออกแบบระบบประกันสุขภาพ เพื่อเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข ให้รัฐมีหน้าที่จัดบริการสาธารณะสุข ให้คนทุกคนเข้าถึงได้่
Report
ดีเบตใหญ่ด้านสุขภาพที่ทั่วโลกก็ยังไม่มีคำตอบ แล้วจะหาทางออกอย่างไร?
การคิดไม่เหมือนกันเกิดขึ้นได้เสมอ ขั้นตอนสำคัญอยู่ที่ว่า เรามีวิธีและกระบวนการหาฉันทามติอย่างไร
Health
สุขภาพกับอุดมการณ์การเมือง : เป้าหมายร่วม อุดมการณ์ต่าง ย่อมมีแนวทางต่าง
แม้ทุกๆ นโยบายสุขภาพต่างมีเป้าหมายเพื่อยกระดับสุขภาพประชาชน แต่อุดมการณ์ที่แตกต่างกัน ย่อมส่งผลให้ทิศทางนโยบายสุขภาพแตกต่างกันไป
Health
ไม่ชอบการเมืองก็ได้ แต่ต้องยอมรับว่าเรื่อง ‘สุขภาพ’ ก็เป็นเรื่องการเมือง
มองให้ลึก โอกาสที่จะมีสุขภาพที่ดี การไปหาหมอ หรือกระทั่งการวางแผนครอบครัว สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่อง ‘การเมือง’ ทั้งนั้น
Economics
จ่ายเงินเพิ่มให้คนรายได้ต่ำ กับ ‘ภาษีเงินได้เชิงลบ’ ใช่ทางออกของความเหลื่อมล้ำ?
นอกจากการคำนวณภาษีแบบอัตราก้าวหน้าที่เราคุ้นเคยแล้ว ยังมีระบบที่เรียกว่า ‘ภาษีเงินได้เชิงลบ’ ที่หากใครรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ นอกจากจะไม่เสียภาษีแล้ว รัฐจะยังจ่ายคืนให้ด้วย
Internal Affairs
อนาคตรัฐสวัสดิการไทย ในเงื่อนไขการเมืองและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
ระบบป้องกันสังคมที่ดีจะช่วยลดความเสียหายจากวิกฤติเศรษฐกิจ หากไม่มีระบบป้องกันสังคม ก็อาจส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจไทยในอนาคตอยู่ในความเสี่ยงที่จะล้มละลายได้ง่าย
Economics
กว่าจะมาถึงแนวคิด ‘รัฐสวัสดิการ’: ความแตกต่างของโลกตะวันออกและตะวันตก
รัฐสวัสดิการในโลกนี้มีหลากหลายรูปแบบ และหลากหลายที่มา เช่น รัฐสวัสดิการในโลกตะวันออกอย่างญีปุ่น ก็ต่างจากในยุโรป มาดูกันว่า แต่ละที่ต่างกันอย่างไร แล้วชวนคิดต่อว่า ในกรณีของไทย หากพัฒนาให้เกิดระบบสวัสดิการ จะทำอะไรได้มากน้อยแค่ไหน
1
2
Next
›