Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
กฤดิกร วงศ์สว่างพานิช
Theories of Manga
Dr.Stone กับวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ ของคาร์ล มาร์กซ์
ในบรรดาการ์ตูนโชเน็นยุคหลังมานี้ Dr.Stone คือเรื่องหนึ่งที่มาแรงและชวนเชียร์ให้ได้ไปต่ออีกยาวๆ ดำเนินเรื่องด้วยการปะทะกันระหว่างการค้นพบทางวิทยาศาสตร์และกำลังของมนุษย์ในทางกายภาพ
Theories of Manga
Kingdom กับแนวคิดเรื่องความเป็นอื่น และการสลายความเป็นอื่นจนเหลือ ‘รัฐ’
ผลงานของ ยาสุฮิสะ ฮาระ (Yasuhisa Hara) ว่าด้วยเรื่องชีวิตของจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่เด็กจนเติบโตและรวบรวมแผ่นดินจีน จาก 7 แว่นแคว้น ในยุค Warring States ให้กลายเป็นปึกแผ่น
Theories of Manga
Yugo, the Negotiator กับการจัดการวิกฤติ ท่ามกลางช่องว่างของความเป็นคน
เรื่องของยูโกะ นักเจรจาตัวท็อป ที่สนุกกับเคสยากๆ โดยเฉพาะการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคง ศาสนาและความแตกต่างทางค่านิยม ความคิด ความเชื่อ
Theories of Manga
Vinland Saga กับมุมมองต่อความตายของมนุษย์ ในโลกก่อนสมัยใหม่
มังหงะเกี่ยวกับชีวิตนักรบไวกิ้ง สะท้อนภาพมุมมองต่อความตายของมนุษย์ก่อนสมัยใหม่ ที่มนุษย์ยังมอง ‘ชีวิต’ ในฐานะทรัพย์สินของพระเจ้าเหนือหัว ขณะที่โลกหลังสมัยใหม่ มนุษย์มองชีวิตเปลี่ยนไปจากนั้น
Theories of Manga
Aku no Hana: (อี) ดอกปีศาจ กับบทบาทของความบ้าในยุคสมัยใหม่
‘ความบ้า’ ของเด็กมัธยม 3 คน ที่เริ่มต้นจากเรื่องเล็กๆ อย่างการแอบเก็บเสื้อพละของคนที่ชอบ แล้วถูกแบล็กเมลล์ ความบ้านั้นถูกพาไปไกลสมชื่อเรื่อง และชวนให้นึกถึง History of Madness ของฟูโกต์
Theories of Manga
Nihon Chinbotsu ที่สุดของมังหงะภัยพิบัติ กับสภาวะไร้รัฐอันสุดเรียล
Nihon Chinbotsu โดยอิชิกิ โทคิฮิโกะ คือมังหงะแนวภัยพิบัติ ที่เผยให้เห็น ‘สภาวะธรรมชาติของมนุษย์’ ซึ่งตรงกับแนวคิดของโธมัส ฮ็อบส์ นักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ ที่ชวนตั้งคำถามว่าเมื่อมนุษย์ไม่มีรัฐเราจะอยู่กันอย่างไร
Book
วิธี ‘อ่าน’ มังหงะอย่างเป็นวิชาการ เพราะเราจะไม่แค่อ่านกันเล่นๆ
ในการอ่านหรือรีวิวมังหงะนั้น มักใช้วิธีอ่านคล้ายสื่อประเภทอื่นๆ ซึ่งมีจุดร่วมกันอยู่ด้วยโครงสร้าง ผู้ส่งสาร-สาร-ผู้รับสาร นี่จึงเป็นเรื่องของ ‘วิธีการอ่าน’ อย่างลงลึกถึงหลักทฤษฎี เพื่อนำไปสู่การรีวิวมังหงะอย่างออกรสออกชาติในคราวต่อไป
Art and Design
กำเนิดมังงะ (ก่อนจะมาว่ากันด้วยปรัชญาและการเมือง)
คำว่ามังหงะ (Manga) เริ่มใช้ครั้งแรกในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 มังหงะในระยะเริ่มแรกหมายถึงภาพวาดแปลกๆ ของจิตรกร หรือภาพที่วาดขึ้นแบบเร็วๆ แต่เมื่อเวลาผ่านขอบเขตของมันก็กว้างขึ้น และยังมีดราม่าเรื่องจุดกำเนิดของมังหงะสมัยใหม่ด้วย
‹
Prev
1
2