THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Gender

Sex and Relationship / Genderless / Queer Voice
  • Gender

    อำนาจ ศรัทธา ความใคร่เด็ก เมื่อสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวพุทธ กลายเป็นแหล่งบำเรอกามแห่งยุคสมัย

    อะไรเป็นช่องโหว่ เมื่อวัดกลายเป็นสถานบำเรอกามของพระสงฆ์ อำนาจและศรัทธาของผู้คน มีผลกับการล่วงละเมิดทางเพศของผู้ครองกาสาวพัสตร์ต่อเหยื่ออย่างไร
    โดย พิพัฒน์พงษ์ ศรีวิชัย
  • Gender

    ‘ฆ่า’ ด้วยเหตุผลเรื่องเพศสภาพ เมื่อ Femicide ยังเป็นปัญหาใหญ่ ว่าด้วยความรุนแรงต่อ ‘สตรี’ ในเม็กซิโก

    เม็กซิโกถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเกิด Femicide อยู่ในระดับสูงมาก และเป็นสถานที่ที่อันตรายสำหรับผู้หญิง ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วจะมีผู้หญิงราว 10 คนถูกฆาตกรรมในแต่ละวัน ซึ่งในปี 2022 มีผู้หญิงจำนวนกว่า 3,427 คนที่ถูกฆาตกรรม
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    Period Poverty ปัญหาขาดแคลนน้ำและผ้าอนามัย ของผู้หญิงท่ามกลางสงครามอิสราเอล-ฮามาส

    สำหรับผู้มีประจำเดือนหรือผู้หญิงทุกคน การจ่ายเงินเพื่อซื้อผ้าอนามัยในแต่ละเดือน ถือเป็นสิ่งจำเป็นที่กลายเป็นความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นมาจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีกทีหนึ่ง แม้ว่าทุกคนจะเลือกไม่ได้ก็ตามว่า อยากมีประจำเดือนหรือไม่
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • The Momentum x Thesis Project

    ‘ผู้หญิงนมใหญ่’ ใครว่าดี บาดแผลจากการโดนคุกคาม สู่การเกลียดหน้าอกตัวเอง

    ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเงยหน้าจากโลกจินตนาการ แล้วหันมามองความเป็นจริงว่า มีผู้หญิงกี่คนที่ต้องเจ็บปวด และกลายเป็นเหยื่อเพียงเพราะหน้าอกใหญ่
    โดย จุฬาลักษณ์ เดชะ
  • Gender

    เมนส์มา ควรลาได้ไหม? หลากข้อถกเถียงเรื่องสิทธิ ในการลาปวดประจำเดือน

    เนื่องในโอกาส ‘วันแรงงานสากล’ วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 พุธิตา ชัยอนันท์ สส.พรรคก้าวไกล หยิบยกประเด็นเรื่องสิทธิแรงงาน โดยเสนอให้มีกฎหมาย ‘เมนส์มา ลาได้’ เพื่อรองรับสิทธิการลาปวดสำหรับผู้ที่มีประจำเดือน แยกออกมาจากการลาป่วยปกติ โดยทาง ส.ส.พรรคก้าวไกลย้ำว่า ไม่ได้ทำไปเพื่อให้ผู้หญิงมีสิทธิเหนือกว่า แต่เป็นไปเพื่อความเท่าเทียมด้วยเหตุผลทางกายภาพที่แตกต่างกัน
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    ซีรีส์วายไทยทำไมแคสต์ไม่ตรงบท เมื่อสาววายตั้งคำถามถึงการขายจิ้น มากกว่าเคารพต้นฉบับ

    ปัจจุบันสื่อชายรักชายมีความหลากหลายในตัวเนื้อหามากขึ้น ขณะที่นักแสดงซีรีส์วายยังคงถูกจำกัดอยู่ในมาตรฐานแบบเดิม คือเน้นหน้าตาที่ดูดี และมักจะขายให้เป็นคู่จิ้นกัน หลายครั้งที่ผู้จัดละครซื้อลิขสิทธิ์นิยายไปทำซีรีส์ จึงพบว่ามีการเลือกนักแสดงออกมาไม่ตรงกับบทบาทในต้นฉบับ
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    ทำไมสงกรานต์จึงกลายเป็นเทศกาลแห่งการคุกคามทางเพศ

    ปีใหม่ไทยกำลังผ่านพ้นไป และเช่นเคย นอกจากการละเล่นสาดน้ำ ได้กลับบ้านเพื่อพักผ่อน หรือไปใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวแล้ว อีกหนึ่งภาพจำของวันสงกรานต์ คือการคุกคามทางเพศที่เกิดขึ้นเป็นประจำในช่วงเทศกาลสำคัญ
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    นี่คือเรื่องของเพศชายและเพศหญิง ย้อนมองต้นตอของ ‘Femicide’ ความรุนแรงที่เกิดจากเหตุแห่งเพศ

    เหตุใดเมื่อมีข่าวความรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์เกิดขึ้น ผู้ลงมือก่อเหตุส่วนมากมักจะเป็นผู้ชาย ขณะเดียวกันผู้ถูกกระทำก็มักจะเป็นผู้หญิงเช่นกัน
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    “ชุดนักเรียนทำให้อารมณ์ขึ้น” เพศ อำนาจ การรายงานข่าวว่า ‘ครูหล่อ’ สังคมเรียนรู้อะไรจาก ‘ครูเปรม’ ได้บ้าง?

    ชอบคนอายุน้อย เห็นแล้วอารมณ์ขึ้น ต้องใส่ชุดนักเรียน เมื่อให้คำแนะนำสายตานักเรียนเปลี่ยนไป ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับลูกศิษย์ สิ่งที่ปรากฏในข่าวครูเปรมสามารถบอกอะไรได้บ้าง?
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Gender

    บรรทัดฐานทางเพศที่เปลี่ยนไป พร้อมอัตราเด็กเกิดใหม่ที่ถดถอย สะท้อนค่านิยม ผู้หญิง ≠ แม่

    สำนักงานสถิติเกาหลีใต้เผยว่า ในปี 2021 อัตราการเจริญพันธุ์อยู่ที่ 0.81% และลดลงเป็น 0.79% ในปี 2022 ถือว่าเป็นตัวเลขที่น้อยที่สุดในโลก แม้รัฐบาลจะทุ่มเงินจำนวนมากเพื่อนโยบายสนับสนุนให้มีบุตรก็ตาม โดยหนึ่งในสาเหตุคือ ค่านิยมและบรรทัดฐานทางเพศ ในปัจจุบัน
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • Gender

    อีกด้านของความเท่าเทียมทางเพศ เมื่อการตัด ‘อวัยวะสืบพันธุ์หญิง’ กำลังกลายเป็นวิกฤตครั้งใหญ่

    UNICEF เผยรายงานประจำปี 2024 ว่า จำนวนของเด็กสาวและผู้หญิงที่ต้องถูกตัดอวัยวะสืบพันธุ์พุ่งสูงถึง 230 คน โดยเพิ่มขึ้นถึง 30 ล้านคนจากปี 2016 หรือภายในระยะเวลาไม่ถึง 1 ทศวรรษ
    โดย อัยย์ลดา แซ่โค้ว
  • Gender

    “ไม่รู้จักชาย ไม่รู้จักหญิง ไม่รู้จัก LGBTQ” คำนำหน้านาม สิทธิที่ยังมีความหมายในสังคมเพศสองขั้ว

    ทุกครั้งที่ประเด็นการอนุญาตให้ทุกคนสามารถเลือกใช้ ‘คำนำหน้านาม’ ตามเพศวิถีเป็นที่พูดถึง ข้อถกเถียงเพื่อไม่ให้สิทธินี้เกิดขึ้นจริงในทางกฎหมายก็ยังคงวนเวียนอยู่ในรูปแบบคล้ายเดิม บ้างว่าหากทุกคนมีสิทธิในการเลือกคำนำหน้านามจะนำไปสู่การหลอกลวง บ้างว่าเป็นการละเมิดสิทธิคนที่มีเพศวิถีตรงกับเพศสภาพ ไปจนถึงมองว่า LGBTQIA+ กำลังเรียกร้องมากเกินไป หรืออยากมีอภิสิทธิ์เหนือชายหญิง
    โดย พิมพ์ชนก โรจนันท์
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • …
  • 24
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required