Report
Life
Lifestyle
Culture
People
Thought
Series
Video
serach
search
Author:
กมลณัทฐ์ เศรษฐพัฒนชัย
Gender
“ถ้าฉันไม่สดใหม่แล้ว จะยังรักฉันอยู่ไหม?” ฟังเสียงเหล่าศิลปินหญิงแถวหน้า ที่แตกสลายเพราะความคาดหวังของสังคม
ไม่ว่าจะเป็นโรเซ่ (Rosé), เทย์เลอร์ สวิฟต์ (Taylor Swift) หรือโอลิเวีย โรดริโก (Olivia Rodrigo) เหล่าศิลปินหญิงแถวหน้าล้วนต้องแบกรับแรงกดดันในการทำตัวให้ ‘สดใหม่’ อยู่เสมอ
Gender
“พวกเราต้องเอาอย่างผู้หญิงเกาหลีบ้าง” ผู้หญิงอเมริกันบางส่วนเริ่มสมาทาน 4B Movement หลังจาก โดนัลด์ ทรัมป์ ชนะเลือกตั้ง
นับตั้งแต่ โดนัลด์ ทรัมป์ (Donald Trump) คว้าชัยในการเลือกตั้งสหรัฐฯ ผู้หญิงอเมริกันจำนวนไม่น้อยรู้สึกไม่ปลอดภัยภายใต้รัฐบาลของเขา ถึงขั้นรณรงค์ให้หยิบยืม 4B Movement จากเกาหลีใต้มาใช้
Lost in Thought
เป็นแม่ เป็นอื่น และเป็นชู้ ชวนอ่าน ‘อันกามการุณย์’ นวนิยายว่าด้วยตัวตนเควียร์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ
อันกามการุณย์ โดยลาดิด เล่าถึงเรื่องราวของลัล บุคคลผู้ถูกแปะป้ายเป็นหญิงตั้งแต่เกิด เขาใช้ชีวิตแบบผู้หญิงมาตลอด แต่งงานกับผู้ชายที่พอใช้ได้ ให้กำเนิดลูกที่น่ารัก แต่แล้ววันหนึ่งก็ถึงจุดเปลี่ยน เมื่อลัลเพิ่งจะมาตระหนักรู้ว่าตัวเองเป็นผู้ชาย
Gender
เคยสงสัยไหม ทำไมผู้หญิงชอบเสพสื่อชายรักชาย?
กลุ่มลูกค้าหลักของสื่อชายรักชายเป็นผู้หญิงมาตลอด ผู้อ่านการ์ตูนชายรักชายในไทยเป็นผู้หญิงมากถึง 80% และผู้ชมซีรีส์ Boys’ Love (BL) ของไทยเป็นผู้หญิง 78% ด้วยสถิติที่ล้นหลามขนาดนี้ ทำให้เกิดคำถามว่า เพราะอะไรสื่อชายรักชายถึงดึงดูดผู้หญิงเหลือเกิน?
Gender
เคยคบผู้ชาย เป็นเลสเบี้ยนได้ด้วยเหรอ? รู้จักทฤษฎี Comphet ในสังคมที่สอนเราว่า สเตรทคือความปกติ
แนวคิด ‘รักต่างเพศเชิงบังคับ’ (Compulsory Heterosexuality) มาจากเรียงความปี 1980 ของเอเดรียน ริช (Adrienne Rich) นักเขียนชาวอเมริกัน ซึ่งอธิบายไว้ว่า รักต่างเพศหรือการที่หญิงรักชาย ชายรักหญิงนั้น นอกจากเป็นเรื่องความสัมพันธ์ของคนสองคนแล้ว ยังเป็นสถาบันการเมืองที่ใช้ควบคุมผู้หญิงด้วย
The Frame
จาก ‘ตกหลุมรัก’ สู่ ‘ให้พูดได้มั้ย?’ แพสชันที่ยังไม่จางหาย ของหวาย-ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์
ชวน หวาย-ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ เจ้าแม่ R&B มาแบ่งปันเรื่องราวเกี่ยวกับแพสชัน ตัวตน ชีวิต และเส้นทางศิลปินตลอด 15 ปีของเธอ
T-Pop Back on Top
We are PRETZELLE เรื่องราวของ แพสชัน การเติบโต และความไม่มั่นคงของอาชีพไอดอล
กว่าจะมาเป็น PRETZELLE ทุกวันนี้ สี่สาวเสียงใสต่างก็ล้มลุกคลุกคลานและพยายามกันมาหนักพอสมควร ทั้งต้องซ้อมร้อง ซ้อมเต้น ปรับเปลี่ยนสมาชิกในช่วงโควิด-19 ระบาด ต้องปรับตัวและผลิตคอนเทนต์คัฟเวอร์ศิลปินอื่นอยู่เสมอ
T-Pop Back on Top
จาก Kamikaze สู่ 789 Survival ก้าวต่อไปของวงการ T-Pop ในสายตาของ แอ้ม-อัจฉริยา
มินิซีรีส์ ‘T-Pop: Back on Top’ ชวนมาพูดคุย ถกปัญหา และวิเคราะห์ทิศทางของอุตสาหกรรม T-Pop ผ่านมุมมอง แอ้ม-อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์ โปรดิวเซอร์สาวที่ฝากผลงานไว้กับวงการเพลงไทยมากกว่า 200 เพลง นับตั้งแต่ยุครุ่งเรืองของค่าย Kamikaze มาจนถึงปัจจุบัน
Lost in Thought
I’m Glad My Mom Died สปอตไลต์วัยเด็กกลายเป็นบาดแผล เมื่อ ‘แม่’ ไม่ใช่พื้นที่ปลอดภัย
คอลัมน์ Lost in Thought สัปดาห์นี้ชวนอ่าน I’m Glad My Mom Died บันทึกชีวิตของอดีตนักแสดงเด็ก เจนเน็ตต์ แม็กเคอร์ดี (Jennette McCurdy) นับตั้งแต่เยาว์วัยจนกระทั่งหลังจากแม่ของเธอเสียชีวิต
Global Affairs
หากคิดจะย้ายมา กรุณาไปที่อื่น! ด้านมืด ‘นิวยอร์ก’ มหานครแห่งความหวัง กับวิกฤตคนไร้บ้านเรื้อรัง ไร้ทางแก้
อย่างที่รู้กันว่า ‘นิวยอร์ก’ เปรียบเสมือนมหานครแห่งความหวัง เต็มไปด้วยโอกาสทางสายอาชีพ รวมถึงมีสถานะเป็น ‘เมืองหลบภัย’ (Sanctuary City) กล่าวคือ เป็นเมืองที่โอบรับและปกป้องสิทธิผู้อพยพทุกคน ดังนั้น คนมากหน้าหลายตาจึงพากันหลั่งไหลเข้ามาที่นี่เพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ ข้างต้นคือมายาคติเมื่อหลายสิบปีก่อน ทว่าในปัจจุบัน ไฟแห่งความหวังของนิวยอร์กเริ่มริบหรี่และใกล้ดับเต็มที
Knowledge & Wisdom
รู้จัก Internalized Racism ทำไมเราจึงชอบเหยียด ด้วยคำพูดเกี่ยวกับเชื้อชาติของตัวเอง
เพราะอะไร คนไทยหลายคนจึงมักนำปลาร้า ลาบ หรือสิ่งต่างๆ ที่แสดงถึงความเป็นไทย มาใช้แทนคำเหยียดหยาม ในขณะเดียวกัน กลับยกย่องสหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชียตะวันออก ราวพระเจ้า
Internal Affairs
พิธาให้สัญญา หากได้เป็นนายกฯ จะเร่งแก้ไขปัญหาการต่างประเทศ การแบ่งแยกดินแดน และยาเสพติด
วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ให้คำมั่นสัญญาในประชุมรัฐสภาว่า รัฐบาลไทยใต้การนำของพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ จะเร่งแก้ไขปัญหา 3 ประเด็น ได้แก่ การต่างประเทศ การแบ่งแยกดินแดน และปัญหายาเสพติด
1
2
Next
›