THE MOMENTUM
THE MOMENTUM
  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • Culture
  • People
  • Thought
  • Series
  • Video
serach
search

Feature

District 99 / Field Notes
  • Feature

    นวราตรี: เจ้าแม่ ความหมาย คนทรง และกะเทยไทย

    ตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม 2566 นับเรื่อยไปอีก 9 คืน คือห้วงเวลาแห่งเทศกาล ‘นวราตรี’ เทศกาลนี้เป็นส่วนหนึ่งของการบูชาพระนางทุรคาเทวีในช่วงปลายฤดูเก็บเกี่ยวของอนุทวีป อันปูราดด้วยฉากหลังทางเทวตำนานที่กล่าวถึงการต่อสู้ระหว่างพระเทวีกับอสูรควาย (มหิษาสูร) ก่อนจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายธรรม แต่แท้จริงแล้วเทศกาลนี้มีความหมายซ่อนเร้นชวนให้ขบคิดอยู่มาก แถมยังเป็นเทศกาลที่เรียกได้ว่าเป็น ‘งานรวมตัวกะเทย’ จนมีคำกล่าวกันเล่นๆ ว่า ‘หากมีระเบิดเกิดขึ้นที่นั่นกะเทยคงหายไปครึ่งประเทศ’
    โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
  • Feature

    ‘ลุงสารพัดช่าง’ จากอดีตคนไร้บ้าน สู่ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าสารพัดอย่าง

    จากอดีตคนไร้บ้านอายุ 63 ปี สู่ช่างไฟฟ้าฝีมือดีที่ซ่อมได้แทบจะทุกอย่างที่มูลนิธิจ้างวานข้า
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Feature

    ‘ได้หรือเสีย?’ เปิดค่าใช้จ่ายและสิทธิประโยชน์ ของแรงงานไทยในอิสราเอล

    สำรวจสิ่งที่แรงงานไทยในอิสราเอล ‘ได้หรือเสีย’ ในความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับฮามาส ด้วยการเปิดค่าใช้จ่ายและสิทธิประโยชน์ที่แรงงานได้รับตลอดทั้งกระบวนการ
    โดย อัยย์ลดา แซ่โค้ว
  • Feature

    “เจ้าหน้าที่เดินมาบอกว่า สะใจที่กะเทยโดนตัดผม” ‘นารา’ ในวันที่ถูกตัดผมสั้น-โนบราในคุก แม้ผิดกฎหมาย แต่ไม่ควรถูกลิดรอนความเป็นคน

    เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2566 เรามีโอกาสเข้าไปฟังการสืบพยานคดีอาญามาตรา 112 ร่วมกับศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษย์ชน กรณีการถ่ายคลิปโฆษณาลาซาด้า 5.5 ของนาราเครปกะเทย เรามีโอกาสนั่งคุยกับเธอสั้นๆ โดยเธอเล่าชีวิตในเรือนจำตลอดระยะเวลา 7 เดือนให้ฟังว่า ทุกคนถูกบังคับให้ตัดผมสั้นทั้งหมด โดยเฉพาะ ‘กะเทย’ หรือสาวประเภทสองจะโดนเพ่งเล็งเป็นพิเศษ
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Feature

    Street Scene Diorama แบบจำลอง 3 มิติ ขนาดย่อม สะท้อนวัฒนธรรมข้างถนนแบบไทย

    รู้จักกับ ‘ไดโอรามา’ หรือโมเดลจำลองสามมิติ ที่เล่าเรื่องราวผ่านวัฒนธรรมข้างถนนแบบไทยๆ โดยศิลปินสายสตรีตอาร์ตนาม ‘แบงก์ ธนารักษ์’ หรือนามแฝงว่า ‘one way to hell’
    โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
  • Feature

    การเดินทางของ ‘เสียงเงียบ’ ใน ‘ตากใบ’ คน / ความทรงจำ / สิ่งของ (ใน) สถานที่

    พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ร่วมกับ Deep South Museum จัดนิทรรศการ ‘สดับเสียงเงียบ จดจำตากใบ 2547’ (Heard the Unheard: Takbai 2004) ในระหว่างวันที่ 21 สิงหาคม-30 กันยายน 2566 เพื่อให้เราได้ทำความเข้าใจกับ ‘เสียง’ ที่ ‘ถูกทำให้เงียบ’ ในเหตุการณ์ความรุนแรงที่ไม่มีใครอยากจำหรือแม้แต่ให้ความสนใจ
    โดย รุอร พรหมประสิทธิ์
  • Feature

    ‘ศรัทธาและความเท่าเทียม’ เยือน ‘คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา’ (วัดซิกข์) ศาสนสถานชาวซิกข์แห่งแรกของไทย

    เยือน ‘คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา’ (วัดซิกข์) วัดซิกข์แห่งแรกของไทย และศาสนสถานอันเป็นศูนย์กลางของชาวซิกข์ในประเทศไทย ในวันสำคัญทางศาสนาของชาวซิกข์ นั่นคือ ‘วันปฐมประกาศ’ หรือวันที่มีการอ่านพระมหาคัมภีร์ที่เสร็จสมบูรณ์ต่อหน้าศาสนิกชนเป็นครั้งแรกของชาวซิกข์ในอดีต
    โดย ชยพล ทองสวัสดิ์
  • Feature

    จาก ‘ช่างตัดผม’ สู่ ‘ครูสอนภาษา’ มองปัญหา ‘อาชีพสงวน’ และบรรทัดฐานแรงงานต่างชาติในไทย

    The Momentum ชวนย้อนดูถึง ‘ต้นตอ’ ของปัญหา และ ‘ช่องโหว่’ ในมาตรฐานของแรงงานต่างชาติในไทยผ่านประเด็นเหล่านี้
    โดย รุอร พรหมประสิทธิ์
  • Feature

    เมื่อเสียง ‘อุแว้’ คือภาพแทน ‘สิทธิมนุษยชน’ เพียงหนึ่งเดียวในห้องพิจารณาคดี 811

    ศาลเป็นสถานที่ซึ่งเต็มไปด้วย ‘อำนาจ’ อำนาจที่เข้ามายุ่มย่ามแม้กระทั่งอากัปกิริยาการนั่ง การวางมือ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงเชื่ออย่างสุดหัวใจว่า พื้นที่ของศาลเป็นสถานที่ไร้ซึ่ง ‘สิทธิมนุษยชน’ อย่างแท้จริง
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Feature

    ศึกชิง เก้าอี้ ผบ.ตร. ใครจะเป็นผู้ถูกเลือกให้ครองบัลลังก์ ‘สีกากี’

    ประวัติ ผลงาน และเรื่อง ‘อื่นๆ’ ที่เกี่ยวข้องกับ 4 แคนดิเดต ผบ.ตร. คนที่ 14 ของประเทศไทย
    โดย พาฝัน หน่อแก้ว
  • Feature

    ‘คเณศจตุรถี’ เทศกาลที่เพิ่งสร้าง เมื่อการฉลองพระคเณศในอินเดีย เป็นส่วนหนึ่งของการเรียกร้องเอกราช

    ‘วันแห่พระคเณศไปทิ้งน้ำ’ (Ganesh Visarjan) เป็นการส่งเสด็จพ่อช้างของปวงเรากลับสู่พระวิมาน ไฮไลต์ของงานเทศกาลคเณศจตุรถีซึ่งกลายเป็นภาพชินตากันไปแล้ว แต่จริงๆ งานแห่พระคเณศไม่เคยมีหน้าตาเช่นนี้เลยกระทั่งเวลาล่วงไปถึงปี 1894 และขอให้ทราบทั่วกันเลยว่า มีเบื้องลึกเบื้องหลังทางการเมืองและการต่อสู้เรียกร้องเอกราชของพี่น้องชาวอินเดีย เป็นฉากหลังของการแสดงอันยิ่งใหญ่นี้
    โดย อธิพัฒน์ ไพบูลย์
  • Feature

    ประวัติศาสตร์ฉบับย่อและปัจจัย ที่ทำให้ ‘บริษัท ไปรษณีย์ไทย’ เป็นบริษัทที่เก่าแก่ที่สุดของไทย

    หลังผ่านร้อนผ่านหนาว เผชิญการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา จนถึงเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2566 บริษัท ไปรษณีย์ไทย ได้กลายเป็นบริษัทที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย แต่คำถามสำคัญคือ บริษัทแห่งนี้อยู่รอดมาได้ด้วยปัจจัยใด?
    โดย กิตตินันท์ วัฒนธิติกุล
  • ‹ Prev
  • 1
  • …
  • 18
  • 19
  • 20
  • 21
  • 22
  • …
  • 36
  • Next ›

Stay curious, be open

  • Report
  • Life
  • Lifestyle
  • People
  • Culture
  • Thought
  • Video
  • Podcast
  • About us
  • Contact us

FOLLOW US

THE MOMENTUM

day poets Co.,Ltd.

33 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
Share
Tweet
LINE LINE
Email

Subscribe to our mailing list

* indicates required